รายละเอียด

การเผาไหม้ / Combustion

  • 0 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGME132
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การเผาไหม้
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Combustion
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

หมวดที่ 1

ข้อมูลทั่วไป

1.รหัสและชื่อรายวิชารหัสรายวิชา ENGME132ชื่อรายวิชาภาษาไทย การเผาไหม้ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ Combustion2.จำนวนหน่วยกิต3( 3 - 0 - 6 )3.หลักสูตร และประเภทของรายวิชา2 หลักสูตร


3.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 3.2 ประเภทกลุ่มวิชาชีพเลือก 


3.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล - Copy 3.2 ประเภทกลุ่มวิชาชีพเลือก-ร่วมคณะ 


4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนนาย จีราวิชช์ นาคภักดี
5.ภาคเรียน/ปีการศึกษาภาคเรียน 1 ปีการศึกษา 25636.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)ENGME103 อุณหพลศาสตร์FUNSC201 เคมีสำหรับวิศวกร7.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)8.สถานที่เรียนเชียงใหม่ 9.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด20 มิถุนายน 2563 21:33ประเภท : มคอ.3 

หมวดที่ 2

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์การเผาไหม้สมบูรณ์ การวิเคราะห์อุณหภูมิและพลังงาน คุณสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิง เตาเผาแก๊สและน้ำมัน เปลวไฟแบบราบเรียบและแบบปั่นป่วน โครงสร้างเปลวไฟแบบปั่นป่วน เปลวไฟแบบผสมก่อนและการฟุ้งกระจาย ความเสถียรภาพของเปลวไฟ การควบคุมมลภาวะจากการเผาไหม้ 
  

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

ปรับลำดับหัวข้อตามความเหมาะสมของการเรียนรู้ 

หมวดที่ 3

ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์การเผาไหม้สมบูรณ์ การวิเคราะห์อุณหภูมิและพลังงาน คุณสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิง เตาเผาแก๊สและน้ำมัน เปลวไฟแบบราบเรียบและแบบปั่นป่วน โครงสร้างเปลวไฟแบบปั่นป่วน เปลวไฟแบบผสมก่อนและการฟุ้งกระจาย ความเสถียรภาพของเปลวไฟ การควบคุมมลภาวะจากการเผาไหม้ 

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษาบรรยาย : บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง 45 ชั่วโมง    สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย ไม่มีการฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง  6 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ สอนเสริม : การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน : การศึกษาด้วยตนเอง : 

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) 

หมวดที่ 4

การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
มีวินัยตรงต่อเวลารับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 
  
  

1.2 วิธีการสอน

ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้มีการปลูกฝังความรับผิดชอบให้นักศึกษาตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาการส่งงานตามกำหนดเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่มมีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่นเป็นต้น  

1.3 วิธีการประเมินผล

ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกําหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรมการมีวินัยและพร้อมเพรียงของ นักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรปริมาณการกระทำทุจริตในการ สอบความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

2. ความรู้2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเนื้อหาของวิชาการเผาไหม้สามารถใช้ความรู้และทักษะในวิชาการเผาไหม้ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 

2.2 วิธีการสอน

เน้นหลักการทางทฤษฏีของการเผาไหม้และการประยุกต์การถ่ายเทความร้อนในงานวิศวกรรมจริงเน้นการแก้โจทย์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานทางวิศวกรรมด้านการเผาไหม้ 

2.3 วิธีการประเมินผล

มีการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค และประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย  รวมทั้งการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล

3. ทักษะทางปัญญา3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา

สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการสามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านการเผาไหม้ได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

3.2 วิธีการสอน

มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการเผาไหม้โดยใช้หลักการวิจัยการศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน 

3.3 วิธีการประเมินผล

ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์เป็นต้น

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา

สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและผู้อื่น 

4.2 วิธีการสอน

ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นเพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็น 

4.3 วิธีการประเมินผล

ประเมินจากการสังเกต และการถามตอบ การทำงานเป็นกลุ่ม

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา

มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 

5.2 วิธีการสอน

มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 

5.3 วิธีการประเมินผล

ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆการอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน

6. ด้านทักษะพิสัย6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

6.2 วิธีการสอน

6.3 วิธีการประเมินผล

หมวดที่ 5

แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอนสัปดาห์ที่ 1หัวข้อ/รายละเอียด

คุณสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิง 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 2หัวข้อ/รายละเอียด

การวิเคราะห์การเผาไหม้สมบูรณ์ 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 3หัวข้อ/รายละเอียด

การวิเคราะห์การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 4หัวข้อ/รายละเอียด

การวิเคราะห์อุณหภูมิ 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 5หัวข้อ/รายละเอียด

การวิเคราะห์พลังงาน 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 6หัวข้อ/รายละเอียด

เตาเผาแก๊ส 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 7หัวข้อ/รายละเอียด

เตาเผาน้ำมัน 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 8หัวข้อ/รายละเอียด

สอบกลางภาค 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม


สัปดาห์ที่ 9หัวข้อ/รายละเอียด

เปลวไฟแบบราบเรียบ 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 10หัวข้อ/รายละเอียด

เปลวไฟแบบปั่นป่วน 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 11หัวข้อ/รายละเอียด

โครงสร้างเปลวไฟแบบปั่นป่วน 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 12หัวข้อ/รายละเอียด

เปลวไฟแบบผสมก่อน 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 13หัวข้อ/รายละเอียด

การฟุ้งกระจาย 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 14หัวข้อ/รายละเอียด

ความเสถียรภาพของเปลวไฟ 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 15หัวข้อ/รายละเอียด

การควบคุมมลภาวะจากการเผาไหม้ 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ และมอบหมายงาน 


สัปดาห์ที่ 16หัวข้อ/รายละเอียด

ทบทวน 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม

บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ 


สัปดาห์ที่ 17หัวข้อ/รายละเอียด

สอบปลายภาค 

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง 

กิจกรรม


หมวดที่ 5

แผนการสอนและการประเมินผล

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2, 3, 4 และ 5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 20% 20%
2 1, 2, 3, 4 และ 5 การศึกษาค้นคว้า การทำงานกลุ่มและผลงาน การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1, 2,3 และ 4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%

หมวดที่ 6

ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก

-สำเริง จักรใจ, การเผาไหม้ (Combustion), สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.  -กัญจนา บุณยเกียรติ, เชื้อเพลิงและการเผาไหม้,สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2544. 

2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ

สามารถดาวน์โหลดจากเว็บไซท์ต่าง ๆ บทความทางวิชาการ หนังสือและตำราอื่นๆ 

3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ

  
สามารถดาวน์โหลดจากเว็บไซท์ต่าง ๆ บทความทางวิชาการ หนังสือและตำราอื่นๆ 

หมวดที่ 7

การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้   การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องเรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา   ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย 

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้  2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา  2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 

3. การปรับปรุงการสอน

หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีสรุปและวางแผนการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  3.1 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น  4.2 มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 

5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้  5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4

รายวิชา - การเผาไหม้

อาจารย์ผู้สอน