รายละเอียด

ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ / Special Problem in Plant Science

  • 18 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCAG115
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Special Problem in Plant Science
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

(Course Specification)

 

 

 

 

รหัส BSCAG115 ชื่อวิชา ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

(Special Problems in Plant Science)

 

 

 

 

 

 

หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ วิชาเอกพืชศาสตร์

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560

คณะคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

 

1. รหัสและชื่อรายวิชา : BSCAG115 ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

(Special Problems in Plant Science)

 

2. จำนวนหน่วยกิต : 3 หน่วยกิต (0–6–3)

 

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : เป็นรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาวิชาชีพบังคับ ในหลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเอกพืชศาสตร์

 

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน :

4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา รุจิพจน์

สถานที่ติดต่ออาจารย์ : ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

โทรศัพท์ : 054-710-259 ต่อ 1125 โทรสาร : 054-771-398

โทรศัพท์มือถือ : 081-792-0315 e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th

e-mail : k_rujiphot@gmail.com

4.2 อาจารย์ผู้สอนรายวิชา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา รุจิพจน์

สถานที่ติดต่ออาจารย์ : ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

โทรศัพท์ : 054-710-259 ต่อ 1125 โทรสาร : 054-771-398

โทรศัพท์มือถือ : 081-792-0315 e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th

e-mail : k_rujiphot@gmail.com

 

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ภาคเรียนที่ 1 ชั้นปีที่ 4 (4 ปี)

 

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี

 

7. รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่กัน : ไม่มี

 

8. สถานที่เรียน : สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

 

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด: วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

 

 

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

 

1. วัตถุประสงค์ของรายวิชา : เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้

1.1 รู้จักเอา ความรู้พื้นฐานและวิชาชีพทางพืช ทักษะพื้นฐานและทักษะวิชาชีพมาใช้ในการปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิตพืชและศึกษา ทดลองทางด้านพืชศาสตร์

1.2 เข้าใจหลักการและวิธีการศึกษาการผลิตพืชและปัญหาทางด้านพืชศาสตร์

1.3 รู้จักดำเนินงานตามขั้นตอนที่ได้วางแผนการศึกษาและทดลอง

1.4 สามารถวิเคราะห์ สรุปผลเพื่อตอบคำถามจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้

 

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา:

ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน

 

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

 

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิต และปัญหาทางด้านพืชศาสตร์ แล้วเขียนรายงานที่ ถูกต้องตามหลักวิชาการ หรือ ศึกษาค้นคว้า ทดลอง และวิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงคำตอบหรือสาเหตุข้อสงสัยจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้

 

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา:

จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์ 0 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์ 6 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา 0 ชั่วโมง

 

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

3.1 อาจารย์จัดทำแผนการเรียน-การสอน เพื่อให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการ แจ้งเป็นข้อตกลงในสัปดาห์แรกของการเรียนการสอน

3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

3.3 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ณ ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์

3.4 e-mail : k_rujiphot@gmail.com ทุกวัน

 

 

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

 

การพัฒนาผลการเรียนรู้

 

วิธีการสอน

วิธีการวัดและประเมินผล

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)

1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม

˜ 1.2 มีจรรยาบรรณ

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

1. การสังเกตและการถาม-ตอบ

2. การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา เคารพกฎกติกา

3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ /สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น

4. งานมอบหมาย

2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)

2.1 มีความรู้ในสาขาวชาชีพ

š 2.2 มีความรอบรู้

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

1. การสังเกต/การถาม-ตอบ

2. งานมอบหมาย

3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจาpower point และรายงานฉบับสมบูรณ์

3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills)

š 3.1 สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ

˜ 3.2 มีสามารถคิด ริเริ่มอย่างสร้างสรรค์

3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

1. การสังเกต การถาม-ตอบ

2. งานมอบหมาย

3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)

š 4.1 มีภาวะผู้นำ

˜ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)

 

1. การสังเกต การถาม-ตอบ

2. งานมอบหมาย

3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ /สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น

 

 

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)

š 5.1 มีทักษะการสื่อสาร

˜ 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยี สารสนเทศ

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

3. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)

 

1. การสังเกต/การถาม-ตอบ

2. การวางแผนการทดลองและนำข้อมูลวิเคราะห์สถิติ

3. การเลือกเครื่องมื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศ

3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์

6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)

6.1 ทักษะทางวิชาชีพ

 

-

 

-

 

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

หมวดวิชาเฉพาะ สาขาวิชาพืชศาสตร์

˜ ความรับผิดชอบหลัก š ความรับผิดชอบรอง

 

กลุ่มวิชา

วิชาชีพบังคับ

1.คุณธรรม

จริยธรรม

2.ความรู้

3.ทักษะทางปัญญา

4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะห์

เชิงตัวเลขและการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ

6.ด้านทักษะ

พิสัย

 

ลำดับ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

1

2

1

2

1

2

3

1

2

1

2

1

26

BSCAG115

ปัญหาพิเศษพืชศาสตร์

 

 

˜

 

 

š

š

˜

 

 

 

 

˜

˜

˜

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

  1. แผนการสอน

 

สัปดาห์

ที่

 

หัวข้อ/รายละเอียด

ชั่วโมงบรรยาย

ชั่วโมงปฏิบัติการ

วิธีสอน/กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้

วิธีวัดและประเมินผล

ชื่อผู้สอน

1

1. กำหนดการ/แผนงานปัญหาพิเศษพืชศาสตร์

1.1 ความสำคัญของปัญหาพิเศษ

1.2 หลักในการกำหนดปัญหาพิเศษ

-

6

 

 

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ยกตัวอย่างผลงานทางวิชาการ

1. การสังเกต ติดตาม และประเมินผลงาน

2. ขอแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาฯ และหัวข้อเรื่อง

 

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

กาญจนา รุจิพจน์

2-3

2. การค้นคว้าเอกสาร สังเคราะห์ข้อมูลและการตรวจเอกสาร

2.1 หลักในการตรวจเอการ

2.2 หลักการอ้างอิงในเนื้อหา

 

-

12

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ยกตัวอย่างผลงานทางวิชาการ

3. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) ประกอบการจัดทำโครงการฯ/รายงานฯ

1. การสังเกต ติดตาม และประเมินผลงาน

2. ขอแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาฯ และหัวข้อเรื่อง

3. แนะนำ ปรับปรุงและแก้ไข ตามคู่มือปัญหาพิเศษฯ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

กาญจนา รุจิพจน์และอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ

4-13

3. การเสนอโครงการปัญหาพิเศษ และวิธีการทำปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

3.1 การเสนอโครงการปัญหาพิเศษ

3.1.1 หลักการในการเขียนโครงการ การตั้งจุดประสงค์หรือข้อสมมุติฐาน

3.1.2 การวางแผนการดำเนินงาน

3.1.3 การนำเสนอโครงการฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point

3.2 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน

และการบันทึกข้อมูล

-

60

 

 

 

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ดำเนินงานตามโครงการฯ

3. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) ประกอบการจัดทำโครงการฯ/รายงานฯ

1. การสังเกต ติดตาม และประเมินผลงาน

2. การนำเสนอผลงานด้วยวาจา power point และ (ร่าง) โครงการปัญหาพิเศษ

3. โครงการปัญหาพิเศษ

 

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

กาญจนา รุจิพจน์และอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ

14-18

4. การเขียนรายงานและการนำเสนอรายงาน

4.1 การวิเคราะห์ผลการทดลองและแปลผล/สังเคราะห์องค์ความรู้

4.2 วิธีการเขียนรายงานผลของการทำปัญหาพิเศษ

4.3 การนำเสนอรายงานแบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point

-

30

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case แนะนำและแก้ไข ตามหลักการเขียนรายงาน

3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) การนำเสนอรายงานแบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point ต่อคณะกรรมการ

1. การสังเกต ติดตาม และประเมินผลงาน

2. แนะนำ ปรับปรุงและแก้ไข ตามคู่มือปัญหาพิเศษฯ

3. รายงานปัญหาพิเศษฉบับสมบูรณ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

กาญจนา รุจิพจน์และอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ

รายวิชา - ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

1. กำหนดการ/แผนงานปัญหาพิเศษพืชศาสตร์

1.1 ความสำคัญของปัญหาพิเศษ

1.2 หลักในการกำหนดปัญหาพิเศษ

2. การค้นคว้าเอกสาร สังเคราะห์ข้อมูลและการตรวจเอกสาร

2.1 หลักในการตรวจเอการ

2.2 หลักการอ้างอิงในเนื้อหา

2. การค้นคว้าเอกสาร สังเคราะห์ข้อมูลและการตรวจเอกสาร

2.1 หลักในการตรวจเอการ

2.2 หลักการอ้างอิงในเนื้อหา

3. การเสนอโครงการปัญหาพิเศษ และวิธีการทำปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

3.1 การเสนอโครงการปัญหาพิเศษ

3.1.1 หลักการในการเขียนโครงการ การตั้งจุดประสงค์หรือข้อสมมุติฐาน

3.1.2 การวางแผนการดำเนินงาน

3.1.3 การนำเสนอโครงการฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point

3.2 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานและการบันทึกข้อมูล

3. การเสนอโครงการปัญหาพิเศษ และวิธีการทำปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

3.1 การเสนอโครงการปัญหาพิเศษ

3.1.1 หลักการในการเขียนโครงการ การตั้งจุดประสงค์หรือข้อสมมุติฐาน

3.1.2 การวางแผนการดำเนินงาน

3.1.3 การนำเสนอโครงการฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point

3.2 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานและการบันทึกข้อมูล

3. การเสนอโครงการปัญหาพิเศษ และวิธีการทำปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

3.1 การเสนอโครงการปัญหาพิเศษ

3.1.1 หลักการในการเขียนโครงการ การตั้งจุดประสงค์หรือข้อสมมุติฐาน

3.1.2 การวางแผนการดำเนินงาน

3.1.3 การนำเสนอโครงการฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point

3.2 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานและการบันทึกข้อมูล

4. การเขียนรายงานและการนำเสนอรายงาน

4.1 การวิเคราะห์ผลการทดลองและแปลผล/สังเคราะห์องค์ความรู้

4.2 วิธีการเขียนรายงานผลของการทำปัญหาพิเศษ

4.3 การนำเสนอรายงานแบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point

อาจารย์ผู้สอน