รายละเอียด

โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม / Engineering Metallurgy

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGIE110
  • ชื่อรายวิชา(TH) : โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Engineering Metallurgy
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

สำหรับนศ.วิศวกรรมการผลิตปี2

รายวิชา - โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม

1.1 เครื่องมือวัดอุณหภูมิ
1.1.1 เครื่องมือวัดอุณหภูมิระบบเชิงกล
1.1.2 เครื่องมือวัดอุณหภูมิระบบไฟฟ้า
1.2 เครื่องมือและอุปกรณ์การเตรียมชิ้นงานทดสอบเพื่อทดสอบโครงสร้างจุลภาคของโลหะ
1.2.1 เครื่องมือเตรียมตัวอย่างตรวจสอบโครงสร้างจุลภาค
1.2.2 กล้องจุลทรรศน์แบบแสง
1.2.3 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน
1.2.3 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

2.1 โครงสร้างอะตอม
2.1.1 ส่วนประกอบของอะตอม
2.1.2 ชนิดของพันธะอะตอม
2.2 โครงสร้างผลึก
2.2.1 ระบบผลึก
2.2.2 โครงสร้างผลึกพื้นฐานของโลหะ
2.2.3 ตำแหน่งอะตอม ทิศทาง และระนาบผลึก
2.3 ความไม่สมบูรณ์ของผลึก

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

2.4 โครงสร้างระดับเกรนของโลหะ
2.4.1 องค์ประกอบของโครงสร้างระดับเกรน
2.4.2 การวัดและการแบ่งกลุ่มเกรนตามมาตรฐาน ASTM
2.4.3 การแพร่ของอะตอม
2.5 การศึกษาโครงสร้างจุลภาคของโลหะ
2.5.1 ขั้นตอนการทดสอบโครงสร้างจุลภาคของโลหะ
2.5.2 การทดสอบโครงสร้างจุลภาคของโลหะ

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

3.1 ความเค้นและความเครียด
3.2 การทดสอบแรงดึง
3.2.1 วิธีการทดสอบ
3.2.1 กราฟความเค้นและความเครียดทางวิศวกรรม
3.3 คุณสมบัติเชิงกลที่ได้จากการทดสอบแรงดึง
3.3.1 ความเค้น ณ จุดคราก
3.3.2 ความต้านทานแรงดึง
3.3.3 มอดุลัสของความยืดหยุ่น
3.3.4 มอดุลัสรีไซเลนซ์
3.3.5 อัตราส่วนปัวส์ซอง
3.3.5 เปอร์เซ็นตืการยืดตัวและการลดลงพื้นที่หน้าตัด
3.3.6 ความเค้นและความเครียดจริง
3.4 การทดสอบความแข็ง
3.4.1 หลักการการทดสอบความแข็ง
3.4.2 วิธีการทดสอบความแข็งแบบต่างๆ ได้แก่ แบบชอร์สเกล แบบสเกลของโมส์ แบบบริเนลล์ แบบร้อคเวลแบบวิกส์เกอร์ แบบนูป
3.4.3 การเปรียบเทียบค่าควาแข็งแบบต่างๆ
3.5 การทดสอบแรงกระแทก
3.3.1 หลักการการทดสอบด้วยแรงกระแทกแบบชาลืปีและแบบไอซอด
3.6 การทดสอบความล้า
3.7 การทดสอบการคืบ

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ


บทที่ 4 การเปลี่ยนรูปของโลหะและการขึ้นรูป
4.1 การเปลี่ยนรูปโลหะแบบยืดหยุ่น
4.2 การเปลี่ยนรูปอย่างถาวรของโลหะ
4.2.1 การเปลี่ยนรูปโดยการเลื่อน
4.2.2 การเปลี่ยนรูปโดยการบิด
4.3 การขึ้นรูปโลหะแบบเย็น
4.3.1 คุณสมบัติและความสัมพัน์ของเปอร์เซ็นต์การขึ้น
รูปแบบเย็น
4.3.3 โครงสร้างของโลหะที่ผ่านการขึ้นรูปแบบเย็น

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

4.4 กระบวนการอบอ่อนและอบคืนสภาพ
4.4.1 การคืนตัว
4.4.2 การเกิดผลึกใหม่
4.4.3 การโตของเกรน
4.5 การขึ้นรูปแบบร้อน
4.5.1 หลักการขึ้นรูปร้อน
4.5.2 ผลกระทบจากการขึ้นรูปร้อน

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

5.1 ระบบของโลหะและโลหะผสม
5.1.1 เฟส
5.1.2 กฏของเฟส
5.1.3 สารละลายของแข็ง
5.1.4 สารประกอบ
5.2 การเกิดนิวเคลียสและการโต
5.3 การแข็งตัวของโลหะและโลหะผสม
5.3.1 เส้นโค้งการเย็น
5.3.2 เวลาการแข็งตัวของโลหะ
5.3.3 การแข็งตัวของโลหะบริสุทธิ์
5.3.4 การแข็งตัวของโลหะผสม
5.4 การแข็งตัวของโลหะในงานหล่อและโลหะในงานเชื่อม
5.4.1 โครงสร้างเกรนในงานหล่อ
5.4.2 จุดบกพร่องในการแข็งตัวของโลหะ การหดตัว และรูพรุนจากแก๊สในงานหล่อ
5.4.3 การกระจายตัวใหม่ของตัวถูกละลายในขณะเกิด
การแข็งตัว
5.4.4 การแพร่อย่างสมบูรณ์ในของแข็งและของเหลว
5.4.5 การไม่เกิดการแพร่ในของแข็งและการแพร่สมบูรณ์ในของเหลว
5.4.6 การไม่เกิดการแพร่ในของแข็งและการแพร่มีขีดจำกัดในของเหลว
5.4.7 การแข็งตัวและองค์ประกอบของ supercooling

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

5.5 การศึกษาเฟสไดอะแกรมของโลหะ
5.5.1 ความสำคัญของเฟสไดอะแกรม
5.5.2 คำศัพท์ต่างๆ ที่ใช้กับเฟสไดอะแกรม
5.5.3 การวิเคราะห์และการอ่านเฟสไดอะแกรม
5.6 แผนภาพสมดุลของโลหะผสมสองธาตุที่ละลายเข้ากันได้อย่างสมบูรณ์ ทั้งในสภาพของเหลวและของแข็ง
5.6.1 การสร้างเฟสไดอะแกรม
5.6.2 การหาส่วนผสมทางเคมีและปริมาณเฟสต่างๆ ใน
เฟสไดอะแกรม
5.6.3 การเย็นตัวในสภาวะสมดุลและไม่สมดุล
5.7 เฟสไดอะแกรมของโลหะผสมระบบสองธาตุที่ละลายเข้ากันได้อย่างสมบูรณ์ในสภาวะของเหลวและไม่สามารถละลายเข้ากันได้เลยในสภาวะของแข็ง
5.8 แผนภาพสมดุลของโลหะผสมระบบสองธาตุ ที่ละลายเข้ากันได้อย่างสมบูรณ์ในสภาวะของเหลว และมีบางส่วนที่สามารถละลายเข้ากันได้ในสภาวะของแข็ง

6.1 ระบบของโลหะผสมเหล็ก-เหล็กคาร์บอน
6.1.1 ข้อมูลพื้นฐานของเหล็ก
6.1.2 เฟสไดอะแกรมของเหล็ก – เหล็กคาร์ไบด์
6.1.3 เฟสที่เกิดจากการเย็นตัวช้าของเหล็กกล้าคาร์บอน
6.1.4 การคำนวณหาเฟสต่าง ๆ ในแผนภาพสมดุลเหล็ก –เหล็กคาร์ไบด์
6.2 อุณภูมิวิกฤติ
6.2.1 การเปลี่ยนแปลงในสภาวะสมดุล
6.2.2 การเปลี่ยนแปลงในสภาวะไม่สมดุล

กิจกรรม :

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

7.1 การผลิตเหล็กและมาตรฐานของเหล็กกล้าคาร์บอน
7.1.1 ขั้นตอนการผลิตเหล็ก เหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าผสม
7.1.2 อิทธิพลของธาตุคาร์บอนในเหล็กกล้าคาร์บอน
7.1.3 ชนิดและการใช้งานเหล็กกล้าคาร์บอน
7.1.4 มาตรฐานของเหล็กกล้าคาร์บอน
7.2 เหล็กกล้าผสม
7.2.1 สถานะของธาตุผสมในเหล็กกล้าผสม
7.2.2 อิทธิพลของธาตุผสม
7.2.3 บทบาทของธาตุผสมต่อคุณสมบัตเชิงกลเหล็กกล้าผสม
7.2.4 ชนิดและมาตรฐานของเหล็กกล้าผสม
7.3 เหล็กกล้าไร้สนิม
7.3.1 เฟสไดอะแกรมของเหล็กกล้าไร้สนิม
7.3.2 ชนิดของเหล็กกล้าไร้สนิม
7.4 เหล็กกล้าเครื่องมือ
7.4.1 ส่วนผสมทางเคมีของเหล็กกล่าเครื่องมือ
7.4.2 ชนิดและการใช้งานเหล็กกล้าเครื่องมือ

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

8.1 การเปลี่ยนเฟสของเหล็กกล้า
8.1.1 เฟสไดอะแกรมการเปลี่ยนเฟสที่อุณภูมิคงที่ (TTT)
8.1.2 การเปลี่ยนเฟสของออสเทนไนต์ ใน TTT ไดอะแกรม
8.1.3 TTT ไดอะแกรมของเหล็กกล้าชนิดต่างๆ
8.1.4 บทบาทธาตุผสมที่มีผลต่อ TTT ไดอะแกรม
8.1.5 เฟสไดอะแกรมการเปลี่ยนเฟสที่อุณหภูมิการเย็น
แบบต่อเนื่อง (CCT)
8.2 กรรมวิธีการอบชุบโลหะด้วยความร้อน
8.2.1 หลักการการอบชุบโลหะด้วยด้วยความร้อน
8.2.2 การอบอ่อน
8.2.3 การอบปรกติ
8.2.4 การชุบแข็งและความสามารถในการชุบแข็ง
8.2.5 การอบคืนไฟ
8.3 การเพิ่มความแข็งที่ผิว
8.3.1 บอกหลักการการเพิ่มความแข็งที่ผิวของโลหะ
8.3.2 การชุบแข็งที่ผิวโดยเปลวไฟ
8.3.3 การชุบแข็งที่ผิวโดยกระแสเหนี่ยวนำ
8.3.4 การชุบแข็งที่ผิวโดยวิธีคาร์บูไรด์ซิ่ง
8.3.5 กรรมวิธีไนไตรดิ้ง

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

9.1 ระบบของเหล็ก - คาร์บอน – ซิลิคอน
9.2 โครงสร้างพื้นของเหล็กหล่อ
9.3 การแบ่งกลุ่มเหล็กหล่อ
9.3.1 เหล็กหล่อสีขาว
9.3.2 เหล็กหล่อสีเทา
9.3.3 เหล็กหล่อเหนียว
9.3.4 เหล็กหล่อกราไฟด์กลม
9.3.5 เหล็กหล่ออบเหนียว
9.3.6 เหล็กหล่อผสม
9.3.7 ปัจจัยที่มีผลต่อโครงสร้างจุลภาคและคุณสมบัติเชิงกลเหล็กหล่อ

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

10.1 อลูมิเนียมและอลูมิเนียมผสม
10.2 ทองแดงและทองแดงผสม
10.3 ไททาเนียมและไททาเนียมผสม
10.4 แมกนีเซียมและแมกนิเซียมผสม
10.5 นิเกิลและโคบอลต์

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

11.1 การผลิตผงโลหะ
11.1.1 ขบวนการทางกายภาพ
11.1.2 ขบวนการทางเคมี
11.2 คุณลักษณะของผงโลหะและการทดสอบ
11.3 การเตรียมผง
11.4 การอัดขึ้นรูปผงโลหะ
11.4.1 การอัดขึ้นรูปแบบง่าย (ตั้งเดิม)
11.4.2 การอัดขึ้นรูปแบบเย็น (cold static pressure)
11.4.3 การอัดขึ้นรูปแบบร้อน (hot static pressure
11.4.4 การขึ้นแบบฉีดอัด (powder injection molding)
11.4.5 การอัดขึ้นรูปด้วยลูกรีด
11.4.6 การอัดและการตีขึ้นรูป
11.4.6 การขึ้นรูปด้วยแรงระเบิด
11.4.7 การขึ้นรูปโดยไม่ใช้แรงดัน
11.4.8 การขึ้นรูปแบบการพ่น (spray forming)
11.5 การตรวจสอบชิ้นงานขึ้นรูป
11.6 การเผาประสาน (sintering)

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

12.1 การกัดกร่อนของโลหะ
12.1.1 การกัดกร่อนด้วยปฏิกิริยาเคมีโดยตรง
12.1.2 การกัดกร่อนด้วยปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี
12.2 ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เกิดการผุกร่อนของโลหะ
12.3 ลักษณะการกัดกร่อนของโลหะ
12.3.1 การกัดกร่อนแบบสม่ำเสมอ
12.3.2 การกัดกร่อนเนื่องจากความต่างศักดิ์
12.3.3 การกัดกร่อนแบบช่องแคบ
12.3.4 การกัดกร่อนแบบหลุม
12.3.5 การกัดกร่อนตามขอบเกรน
12.3.6 การกัดเซาะ
12.3.3 การกัดกร่อนเนื่องจากความเครียด
12.4 การป้องกันการกัดกร่อนของโลหะ

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

13.1 การวิเคราะห์สาเหตุของความเสียหาย
13.2 ความเสียหายเนื่องจากการอ่อนตัวของวัสดุ
13.3 ความเสียหายของวัสดุเนื่องจากการสึกหรอ
13.4 ความเสียหายจากการเกิดโพรงไอ
13.5 ความเสียหายจากการผุกร่อน
13.6 ความเสียหายท่ีเกิดจากไฮโดรเจน
13.7 การแตกเปราะเนื่องจากโลหะเหลว

กิจกรรม : - บรรยายประกอบการซักถาม
- สรุปเนื้อหา
- สื่อ Power point
- เอกสารประกอบ การสอน
- ฝึกปฏิบัติ

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน