รายละเอียด

โปรแกรมภาษาทางเลือก / Selected Programming Language

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 1 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCCT505
  • ชื่อรายวิชา(TH) : โปรแกรมภาษาทางเลือก
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Selected Programming Language
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - โปรแกรมภาษาทางเลือก

- อธิบายภาพรวมของการเรียนวิชานี้ และเกณฑ์การให้คะแนน - มอบหมายงานที่นักศึกษาต้องรับผิดชอบ - สร้างระบบเครือข่ายเพื่อการเรียน - ทบทวนแนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
กิจกรรม : - ชี้แจงลักษณะรายวิชา แผนการสอน วิธีวัดผลและประเมินผล รวมทั้งแนะนำเอกสารประกอบการสอน - สร้างข้อตกลงร่วมกันในการจัดการเรียนการสอน - มอบหมายงานกลุ่มและงานเดี่ยวให้ไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาไพธอน 1.1 ประวัติของภาษาไพธอน 1.2 คุณลักษณะเด่นของภาษาไพธอน 1.3 การประยุกต์ใช้ไพธอน 1.4 ดาวน์โหลดและติดตั้งไพธอน 1.5 การใช้งาน Python Shell 1.6 สรุป และแบบฝึกหัด
กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ฝึกปฏิบัติการดาวน์โหลด ติดตั้งไพธอน และการใช้งาน Python Shell - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 2 องค์ประกอบของภาษาไพธอน 2.1 การเขียนคำสั่ง 2.2 การเขียนหมายเหตุ 2.3 รูปแบบการเขียนโปรแกรมไพธอน 2.4 อักขระที่ใช้ภายในไพธอน 2.5 ข้อมูลและชนิดข้อมูล 2.6 ตัวแปร 2.7 การกำหนดค่าให้กับตัวแปร 2.8 การตรวจสอบชนิดของตัวแปร 2.9 การแปลงชนิดของตัวแปร 2.10 การรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ 2.11 สรุป และแบบฝึกหัด
กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 3 เครื่องหมายดำเนินการและนิพจน์ 3.1 คำสั่งสำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร 3.2 เครื่องหมายดำเนินการทางคณิตศาสตร์ 3.3 เครื่องหมายดำเนินการเกี่ยวกับบิต 3.4 เครื่องหมายดำเนินการกำหนดค่า (Assignment Operators) 3.5 เครื่องหมายดำเนินการทางตรรกศาสตร์ 3.6 นิพจน์ 3.7 สรุป และแบบฝึกหัด
กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 4 คำสั่งควบคุม 4.1 การใช้คำสั่ง range() 4.2 การใช้คำสั่ง for 4.3 การใช้คำสั่ง if และคำสั่งสำหรับทางเลือกหลายทาง 4.4 ตัวดำเนินการสำหรับตรวจสอบเงื่อนไข 4.5 ปฏิบัติการลอจิ ซึ่งกระทำกับเงื่อนไขหลายตัว 4.6 การใช้คำสั่ง break และ continue 4.7 การวนรอบด้วยคำสั่ง while 4.8 การวนรอบด้วยคำสั่ง xrange() 4.9 การใช้คำสั่ง raise 4.10 คำสั่ง Exceptions 4.11 การกำหนดความผิดพลาดด้วยตัวเอง 4.12 สรุป และแบบฝึกหัด
กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 4 คำสั่งควบคุม 4.1 การใช้คำสั่ง range() 4.2 การใช้คำสั่ง for 4.3 การใช้คำสั่ง if และคำสั่งสำหรับทางเลือกหลายทาง 4.4 ตัวดำเนินการสำหรับตรวจสอบเงื่อนไข 4.5 ปฏิบัติการลอจิ ซึ่งกระทำกับเงื่อนไขหลายตัว 4.6 การใช้คำสั่ง break และ continue 4.7 การวนรอบด้วยคำสั่ง while 4.8 การวนรอบด้วยคำสั่ง xrange() 4.9 การใช้คำสั่ง raise 4.10 คำสั่ง Exceptions 4.11 การกำหนดความผิดพลาดด้วยตัวเอง 4.12 สรุป และแบบฝึกหัด
กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 5 ฟังก์ชัน 5.1 ประเภทของฟังก์ชัน 5.2 ไลบรารีฟังก์ชัน (Library Functions) 5.3 User Defined Function 5.4 ภาพรวมของฟังก์ชัน 5.5 การเขียนฟังก์ชันแบบคืนค่า และไม่คืนค่า 5.6 ฟังก์ชัน Built-in ภายในไพธอน 5.7 เมธอดพิเศษชนิดต่าง ๆ 5.8 ฟังก์ชันภายในมอดูล math และ cmath 5.9 สรุป และแบบฝึกหัด
กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 5 ฟังก์ชัน 5.1 ประเภทของฟังก์ชัน 5.2 ไลบรารีฟังก์ชัน (Library Functions) 5.3 User Defined Function 5.4 ภาพรวมของฟังก์ชัน 5.5 การเขียนฟังก์ชันแบบคืนค่า และไม่คืนค่า 5.6 ฟังก์ชัน Built-in ภายในไพธอน 5.7 เมธอดพิเศษชนิดต่าง ๆ 5.8 ฟังก์ชันภายในมอดูล math และ cmath 5.9 สรุป และแบบฝึกหัด
กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

สอบกลางภาค
กิจกรรม : สอบกลางภาค

บทที่ 6 การใช้งานตัวแปรสตริง 6.1 การใช้งานตัวแปรสตริง 6.2 สมาชิกย่อยภายในสตริง 6.3 เครื่องหมาย Single และ Double Quote 6.4 เครื่องหมาย Single/Double Quote สามตัว 6.5 เอกซ์เพรสชันของสริง 6.6 ฟังก์ชัน len(), in() และ ฟังก์ชันต่างๆ ภายในมอดูลสตริง 6.7 การเข้าถึงสมาชิกในสตริง 6.8 สรุป และแบบฝึกหัด

กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 7 การใช้งานตัวแปรชนิดลิสต์ (List Object) 7.1 การประกาศตัวแปรชนิดลิสต์ 7.2 การเข้าถึงสมาชิกในลิสต์ 7.3 การปฏิบัติการของลิสต์ 7.4 ตัวแปรต่างชนิดภายในลิสต์ 7.5 การสร้างโปรแกรมคำนวณทางเมท-ริกซ์ด้วยลิสต์ 7.6 ฟังก์ชันมาตรฐานที่ใช้สำหรับลิสต์ 7.7 สรุป และแบบฝึกหัด

กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 7 การใช้งานตัวแปรชนิดลิสต์ (List Object) 7.1 การประกาศตัวแปรชนิดลิสต์ 7.2 การเข้าถึงสมาชิกในลิสต์ 7.3 การปฏิบัติการของลิสต์ 7.4 ตัวแปรต่างชนิดภายในลิสต์ 7.5 การสร้างโปรแกรมคำนวณทางเมท-ริกซ์ด้วยลิสต์ 7.6 ฟังก์ชันมาตรฐานที่ใช้สำหรับลิสต์ 7.7 สรุป และแบบฝึกหัด

กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 8 การใช้งานตัวแปรชนิดทูเพิล (Tuple Object) 8.1 การประกาศตัวแปรชนิดทูเพิล 8.2 ความแตกต่างระหว่างทูเพิลและลิสต์ 8.3 การเข้าถึงสมาชิกภายในทูเพิล 8.4 การปฏิบัติการของทูเพิล 8.5 การแปลงทูเพิลเป็นลิสต์ 8.6 สรุป และแบบฝึกหัด

กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

บทที่ 8 การใช้งานตัวแปรชนิดทูเพิล (Tuple Object) 8.1 การประกาศตัวแปรชนิดทูเพิล 8.2 ความแตกต่างระหว่างทูเพิลและลิสต์ 8.3 การเข้าถึงสมาชิกภายในทูเพิล 8.4 การปฏิบัติการของทูเพิล 8.5 การแปลงทูเพิลเป็นลิสต์ 8.6 สรุป และแบบฝึกหัด

กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน - สอบปฏิบัติ

บทที่ 9 การใช้งานตัวแปรชนิดดิกชันนารี 9.1 การประกาศตัวแปรชนิดดิกชันนารี 9.2 การเข้าถึงตัวแปรภายในดิกชันนารี 9.3 การตรวจสอบว่ามีคีย์ใดบ้างในดิกชันนารี 9.4 การแสดงข้อมูลภายในดิกชันนารีด้วยคีย์ที่ตรงกัน 9.5 การเคลียร์ข้อมูลทั้งหมดในดิกชันนารี 9.6 การคัดลอกตัวแปรดิกชันนารี 9.7 การสร้างดิกชันนารีใหม่โดยอาศัยคีย์จากตัวแปรลิสต์ 9.8 การอ่านข้อมูลในดิกชันนารีด้วยฟังก์ชัน get() 9.9 การอ่านข้อมูลในดิกชันนารีด้วยฟังก์ชัน items() 9.10 การ pop ข้อมูลภายในดิกชันนารีด้วยฟังก์ชัน pop() 9.11 การ pop ข้อมูลคู่ภายในดิกชันนารีด้วยฟังก์ชัน popitem() 9.12 การเพิ่มคำให้กับดิกชันนารี 9.13 การรวมตัวแปรชนิดดิกชันนารีเข้าด้วยกัน 9.14 สรุป และแบบฝึกหัด
กิจกรรม : - การสอนแบบบรรยายโดยใช้สื่อประกอบการสอนพร้อมยกตัวอย่าง - เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจ - ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน - แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน

- การนำเสนองานกลุ่ม
กิจกรรม : - นักศึกษานำเสนองานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย - เปิดโอกาสให้เพื่อนนักศึกษาซักถาม และอาจารย์ซักถามความเข้าใจสมาชิกในกลุ่ม

- การสอบปลายภาค
กิจกรรม : - การสอบปลายภาค

อาจารย์ผู้สอน