รายละเอียด

เคมีอินทรีย์ / Organic Chemistry

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCCC108
  • ชื่อรายวิชา(TH) : เคมีอินทรีย์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Organic Chemistry
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2562

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - เคมีอินทรีย์

ทฤษฎี หน่วย 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์
1.1 ความหมาย และการจำแนกประเภทสารอินทรีย์
1.2 พันธะของคาร์บอน การเกิดไฮบริดไดเซชัน sp3
sp2 , sp

ปฏิบัติ ข้อแนะนำทั่วไปและ อุปกรณ์การทดลอง
บทปฏิบัติการที่ 1 ตัวทำละลายอินทรีย์

กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล

ปฏิบัติ ให้ข้อแนะนำทั่วไปในการใช้อุปกรณ์การทดลอง การปฏิบัติตนในห้องปฏิบัติการให้เกิดความปลอดภัย แบ่งกลุ่ม
ดำเนินบทปฏิบัติการที่ 1 ตัวทำละลายอินทรีย์

หน่วย 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์
1.3 การเขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้น แบบย่อ
แบบเส้นและมุม
1.4 ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ที่สำคัญ
ประเภทการแตกพันธะ
ประเภทตัวเข้าทำปฏิริยา
ชนิดของปฏิกิริยา
หน่วย 2 อัลเคนและไซโคลอัลเคน
2.1 สูตรและโครงสร้าง

ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 2.1 การหาจุดหลอมเหลว
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 2.1 การหาจุดหลอมเหลว
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 2 อัลเคนและไซโคลอัลเคน
2.2 การเรียกชื่อ
2.3 สมบัติทางกายภาพ
2.4 การเตรียม
2.5 ปฏิกิริยาเคมี

บทปฏิบัติการที่ 2.2 การหาจุดเดือด
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 2.2 การหาจุดเดือด
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 3 อัลคีนและไซโคลอัลคีน
2.1 สูตรและโครงสร้าง
2.2 การเรียกชื่อ
2.3 สมบัติทางกายภาพ
2.4 การเตรียม
2.5 ปฏิกิริยาเคมี


บทปฏิบัติการที่ 3 การตกผลึกใหม่
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 3 การตกผลึกใหม่
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 4 อัลไคน์และอัลคิลเฮไลด์
2.1 สูตรและโครงสร้าง
2.2 การเรียกชื่อ
2.3 สมบัติทางกายภาพ
2.4 การเตรียม
2.5 ปฏิกิริยาเคมี


บทปฏิบัติการที่ 4 การกลั่นด้วยไอน้ำ
และการสกัดสารแบบต่อเนื่องจากพืช
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 4 การกลั่นด้วยไอน้ำ
และการสกัดสารแบบต่อเนื่องจากพืช
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 5 แอโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
5.1 โครงสร้างของเบนซีน
5.2 ลักษณะสารที่เป็นอะโรมาติกตามกฏ Huckel
5.3 การเรียกชื่อสารประกอบที่เป็นอนุพันธ์ของเบนซีน


บทปฏิบัติการที่ 5 การสกัดด้วยด่าง
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 5 การสกัดด้วยด่าง
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 5 แอโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
5.4 ปฏิกิริยาของสารประกอบอะโรมาติกกับอิเลกโทรไฟล์
5.5 อิทธิพลของหมู่แทนที่ต่างๆที่มีผลต่อดารเกิดปฏิกิริยาของเบนซีน


บทปฏิบัติการที่ 6 โครมาโทรกราฟี
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 6 โครมาโทรกราฟี
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

สอบกลางภาค
กิจกรรม : ทฤษฎี แบบทดสอบกลางภาค
สอบตามกำหนดการสอบของมหาวิทยาลัย

หน่วย 6 สเตอร์ริโอเคมีเบื้องต้น
ุ 6.1 การจำแนกประเภทไอโซเมอร์
6.2 ไอโซเมอร์เชิงเรขาคณิต
6.3 ไครัลคาร์บอน และโมเลกุลไครัล
6.4 การหมุนระนาบแสงโพลาไรซ์


บทปฏิบัติการที่ 7 แอลเคน แอลคีนและ แอลไคน์และอะโรมาติก
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 7 แอลเคน แอลคีนและ แอลไคน์และอะโรมาติก
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 6 สเตอร์ริโอเคมีเบื้องต้น
6.5 อิแนนทิโอเมอร์ ,ไดแอสเตอริโอเมอร์ และสารประกอบมีโซ
6.6 สมบัติการหมุนแสงของสารผสมราซิมิก
6.7 โพรเจ็กชัน คอนฟิกุเรชัน, คอนฟอร์เมชัน


บทปฏิบัติการที่ 8 การศึกษาโครงสร้างโมเลกุลด้วยแบบจำลอง
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 8 การศึกษาโครงสร้างโมเลกุลด้วยแบบจำลอง
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 7 แอลกอฮอล์และอีเทอร์
2.1 สูตรทั่วไปและประเภทแอลกอฮอล์
2.2 การเรียกชื่อแอลกอฮอล์
2.3 สมบัติทางกายภาพของแอลกอฮอล์
2.4 การเตรียมในอุตสาหกรรม และห้องปฏิบัติการ
2.5 ปฏิกิริยาเคมี

บทปฏิบัติการที่ 9 แอลกอฮอล์
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 9 แอลกอฮอล์
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 7 แอลกอฮอล์และอีเทอร์
2.5 ปฏิกิริยาเคมีของแอลกอฮอล์
2.6 อีเทอร์

บทปฏิบัติการที่ 9 แอลกอฮอล์



กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 9 แอลกอฮอล์
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 8 อัลดีไฮด์และคีโตน
2.1 สูตรและโครงสร้าง
2.2 การเรียกชื่อ
2.3 สมบัติทางกายภาพ
2.4 การเตรียม
2.5 ปฏิกิริยาเคมี
2.6 อัลดีไฮด์และคีโตน ที่สำคัญ และการใช้ประโยชน์


บทปฏิบัติการที่ 10 อัลดีไฮด์และคีโตน
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 10 อัลดีไฮด์และคีโตน
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 9 กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์
2.1 สูตรและโครงสร้าง
2.2 การเรียกชื่อ
2.3 สมบัติทางกายภาพ


บทปฏิบัติการที่ 11 กรดคาร์บอกซิลิก และเอสเทอร์
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 11 กรดคาร์บอกซิลิก และเอสเทอร์
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

หน่วย 9 กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์
2.4 การเตรียม
2.5 ปฏิกิริยาเคมี
2.6 อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก
2.7 กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิกที่สำคัญและการใช้ประโยชน์

บทปฏิบัติการที่ 12 การวิเคราะห์หมู่ฟังก์ชัน
กิจกรรม : ทฤษฏี
การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย โดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
. สอนแบบให้โจทย์ฝึกคิดแก้ปัญหา การสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ อภิปรายผล


ปฏิบัติ บทปฏิบัติการที่ 12 การวิเคราะห์หมู่ฟังก์ชัน
1. ให้ผู้เรียนศึกษาและเขียนขั้นตอนการทดลองมาล่วงหน้า
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำเสนอขั้นตอนการทดลอง
3.ปฏิบัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง
4.อภิปรายผล วิเคราะห์ผลการทดลอง ตอบคำถามท้ายการทดลอง สรุปผล และนำเสนอผลการทดลอง

ทฤษฏี ทบทวน ซ่อมเสริม


ปฏิบัติ ทดสอบทักษะปฏิบัติการ การวิเคราะห์สารUnknow
กิจกรรม : ทฤษฎี
สอนทบทวน ซ่อมเสริม ติดตามงาน อธิบาย ตอบปัญหา ข้อซักถามต่างๆ

ปฏิบัติ
แบ่งการทดสอบเป็นฐานย่อย หมุนเวียนนักศึกษาเข้าทดสอบ
ทดสอบทักษะปฏิบัติการ การวิเคราะห์สารUnknow

สอบปลายภาคเรียน
กิจกรรม : ทดสอบตามกำหนดการของมหาวิทยาลัย

อาจารย์ผู้สอน