รายละเอียด

วัชพืชและการควบคุม / Weeds and Their Control

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCAG109
  • ชื่อรายวิชา(TH) : วัชพืชและการควบคุม
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Weeds and Their Control
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

รหัสวิชา BSCAG109

ชื่อวิชา วัชพืชและการควบคุม  (Weeds and Their Controls)

รายละเอียดของรายวิชา

Course Specification

 

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

คณะ/วิทยาเขต/ภาควิชา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา : BSCAG109 วัชพืชและการควบคุม (Weeds and Their Controls)

2. จำนวนหน่วยกิต : 2 หน่วยกิต (1–3–3)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : เป็นรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพบังคับ ในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต วิชาเอกพืชศาสตร์

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน:

4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา รุจิพจน์

สถานที่ติดต่ออาจารย์ : ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

ตำบลฝายแก้วย อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน

โทรศัพท์ : 054-710-259 ต่อ 1125 โทรสาร : 054-771-398

โทรศัพท์มือถือ : 081-792-0315      e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นปีที่ 3 (4 ปี)

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี

7. รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่กัน : ไม่มี

8. สถานที่เรียน : สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ตำบลฝายแก้วย อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด : วันที่ 11 พฤษภาคม 2563

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

 

1. วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้

1.1 มีความรู้ในชนิดและลักษณะที่สำคัญของวัชพืช การเจริญเติบโต การขยายพันธุ์และการ

แพร่กระจายพันธุ์ของวัชพืช และปัญหาอันเนื่องมาจากวัชพืช

1.2 มีความรู้ในหลักการจัดการวัชพืชและวิธีการควบคุมวัชพืช

1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และเลือกใช้วิธีการควบคุมวัชพืชในพืชปลูกต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

1.4 มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

1.5 มีวินัย ซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น รับฟังความคิดของผู้อื่น

1.6 มีความรับผิดชอบในวิชาชีพ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงจรรยาบรรณในวิชาชีพ

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา:

เพื่อเป็นรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพบังคับ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรที่ต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับวัชพืชและเลือกใช้วิธีกำจัดวัชพืชอย่างถูกต้อง เหมาะสม และไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยสามารถเชื่อมโยงกับการผลิตพืชเศรษฐกิจ มีทักษะและสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมทางการเกษตร มีความคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ สามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของตนเอง ชุมชน และท้องถิ่น

 

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ การจำแนกชนิดชีววิทยาและนิเวศวิทยาของวัชพืชหลัก วิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช ประเภทและสรีรวิทยาการทำลายของสารเคมีกำจัดวัชพืชและความปลอดภัยในการใช้

The study and practice of importance of weeds, biological and ecological classification of major weeds, weeds prevention and control, types and physiological damage of herbicides and herbicides application and safety.

 

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา:

จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์ 1 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์ 3 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา - ชั่วโมง

 

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือ โทรศัพท์ 081-792-0315

3.2 ส่ง e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th ทุกวัน

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

 

การพัฒนาผลการเรียนรู้

 

วิธีการสอน

วิธีการวัดและประเมินผล

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)

š 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ

š 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ

 

 

 

1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยมีการ

สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมการยกย่องนักศึกษา/บุคคลที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ

 

 

 

1. การสังเกตและบันทึกการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน

2. การสังเกตความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น

3. การสังเกตและบันทึกการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด

4. ประเมินจากการทำข้อมอบความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ

 

2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)

˜ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง

š 2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ใน
การดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม

 

 

1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) ให้นักศึกษาค้นคว้าเรื่อง วัชพืชและการป้องกันกำจัดวัชพืช จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ทางวิชาการ

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ให้งานมอบหมายรายบุคคล

3. การสอนแบบ (Brain Storming Group) ให้งานมอบหมายกลุ่ม

 

 

 

1. การทดสอบย่อย

2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน

3. รายงาน/ผลงาน ที่นักศึกษาจัดทำ

4. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน

 

3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills)

š 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม

˜ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่

3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม

 

 

1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) ให้นักศึกษาค้นคว้าการป้องกันกำจัดวัชพืช

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ให้งานมอบหมายรายบุคคล

3. การสอนแบบ (Brain Storming Group) ให้งานมอบหมายกลุ่ม

 

 

 

 

 

1. รายงาน/ผลงาน ที่นักศึกษาจัดทำ

2. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน

3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ

 

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)

š 4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม

˜ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม

 

 

 

 

 

1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ให้งานมอบหมายรายบุคคล

2. การสอนแบบ (Brain Storming Group) ให้งานมอบหมายกลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

1. การสังเกตจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา

2. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน

3. การประเมินโดยนักศึกษาร่วมชั้นเรียน

 

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)

š 5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง
พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน

˜ 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสม

 

 

 

 

 

 

1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ให้งานมอบหมายรายบุคคล

2. การสอนแบบ (Brain Storming Group) ให้งานมอบหมายกลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. การนำเสนองานด้วยวิธีรายงาน / เทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล

2. รายงาน/ผลงาน การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม

 

6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)

6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ

 

 

 

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

หมวดวิชาเฉพาะ สาขาวิชาพืชศาสตร์

˜ ความรับผิดชอบหลัก š ความรับผิดชอบรอง

 

กลุ่มวิชา

1.คุณธรรมจริยธรรม

2.ความรู้

3.ทักษะทางปัญญา

4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะห์

เชิงตัวเลขและการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ

6.ด้านทักษะ

พิสัย

ลำดับ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

1

2

1

2

1

2

3

1

2

1

2

1

20

BSCAG109

วัชพืชและการควบคุม

 

š

 

š

 

˜

 

š

 

š

 

˜

 

 

 

š

 

˜

 

š

 

˜

 

 

 

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

 

1. แผนการสอน

 

สัปดาห์ที่

 

หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง

กิจกรรมการการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้

วิธีการวัด

และประเมินผล

ชื่อผู้สอน

บรรยาย

ปฏิบัติการ

ศึกษาด้วยตนเอง

1

ความหมายของวัชพืช ลักษณะที่สำคัญของวัชพืช และการจำแนกชนิดของวัชพืช

1

3

3

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point และ/หรือวิดีโอ

2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าความหมายของวัชพืช ลักษณะที่สำคัญของวัชพืช และการจำแนกชนิดของวัชพืช

3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ศึกษาชนิดของวัชพืชจากตัวอย่างจริงในห้องปฏิบัติการ

1. ส่งงานที่มอบหมายให้ทำในห้องปฏิบัติการและแปลงทดลอง

2. สอบตัวอย่างวัชพืช

ผศ. กาญจนา

รุจิพจน์

2-3

การเจริญเติบโต การขยายพันธุ์และการแพร่กระจายพันธุ์ของวัชพืช

2

6

6

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point และ/หรือวิดีโอ

2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าการจริญเติบโต การขยายพันธุ์และการแพร่กระจายพันธุ์ของวัชพืช

3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ศึกษาชนิดส่วนขยายพันธุ์ และทดสอบความงอกของส่วนขยายพันธุ์ในห้องปฏิบัติการ

4. การสอนแบบ (Brain Storming Group) การสำรวจชนิดวัชพืชในแปลงทดลอง

1. ส่งงานที่มอบหมายให้ทำในห้องปฏิบัติการ

2. สอบตัวอย่างวัชพืช

ผศ. กาญจนา

รุจิพจน์

4-5

ความสัมพันธ์ระหว่างวัชพืชกับพืชปลูกและมนุษย์ การแข่งขันระหว่างพืชปลูกกับวัชพืช

2

6

6

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point และ/หรือวิดีโอ

2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าผลเสียและประโยชน์ของวัชพืช การแข่งขันปัจจัยการเจริญเติบโต ความรุนแรงในการแข่งขันระหว่างพืชปลูกและวัชพืช

3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) การศึกษาการแข่งขันระหว่างพืชปลูกและวัชพืชในแปลงทดลอง

1. ส่งงานที่มอบหมายให้ทำในแปลงทดลอง

 

ผศ. กาญจนา

รุจิพจน์

6-7

หลักการจัดการวัชพืชและการควบคุมวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี

2

6

6

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point และ/หรือวิดีโอ

2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหลักการจัดการวัชพืช การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีทางกายภาพ วิธีทาง-เขตกรรม วิธีทางชีวภาพและวิธีทางด้านกฎหมาย

3. การสอนแบบ (Brain Storming Group) การศึกษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการกำจัดวัชพืชแบบใช้และไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชโดยดูจากสไลด์และของจริงบางส่วนในห้องปฏิบัติการและแปลงทดลอง

1. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในห้องเรียน การถาม-ตอบ การแสดงความคิดเห็น

2. ส่งงานที่มอบหมายให้ทำในห้องปฏิบัติการ

3. สอบกลางภาค

ผศ. กาญจนา

รุจิพจน์

8

การควบคุมวัชพืชโดยใช้สารเคมี

1

3

3

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point และ/หรือวิดีโอ

2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าชนิดของสารเคมีกำจัดวัชพืช การเข้าสู่พืชและการเคลื่อนย้ายของสารกำจัดวัชพืช กลไกการทำลาย การย่อยสลาย และการเลือกทำลาย สารเคมีกำจัดวัชพืชในดิน

3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) การศึกษาชนิดสารเคมีกำจัดวัชพืช การคำนวณปริมาณน้ำโดยการทดสอบฉีดพ่นน้ำ และการคำนวณสาร การละลายของสารเคมีกำจัดวัชพืชในห้องปฏิบัติการและแปลงทดลอง

1. สอบคำนวณสาร

2. ส่งงานที่มอบหมายให้ทำในห้องปฏิบัติการและแปลงท

รายวิชา - วัชพืชและการควบคุม

1.1 ความหมายของวัชพืช

ความหมายจากพจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน (https://dictionary. /วัชพืช)

วัชพืช [วัดชะพืด] น. พืชที่ไม่ต้องการ เช่น หญ้าคาในแปลงข้าว.(ป. วชฺช + พีช).

วัชพืช [วัด-ชะ-พืด] (มค. วชฺช = โทษ + พีช = พันธุ์ไม้) น. พวกหญ้าและไม้ที่เป็นอันตรายต่อการเพาะปลูก

ความหมายจากสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ (http://kanchanapisek.or.th/วัชพืช)

คำว่า วัชพืช มาจาก วัช หรือ วัชชะ แปลว่า "สิ่งที่ควรละทิ้ง" ซึ่งเมื่อรวมกับคำว่า พืช เป็นวัชพืช จึงมีความหมายว่า "พืชที่ควรละทิ้ง” ได้มีผู้ให้คำจำกัดความ วัชพืช ไว้เป็นหลายอย่าง เช่น พืชที่ไร้ประโยชน์ พืชไม่พึงประสงค์ พืชที่ขัดผลประโยชน์ต่อมนุษย์ พืชที่ควรละทิ้ง คำจำกัดความดังกล่าวข้างต้นเหล่านี้ยังไม่มีคำใดถูกแท้ทีเดียวนัก เพราะมีวัชพืชอยู่หลายชนิดที่ไม่ควรทิ้ง ให้คุณ และไม่ขัดผลประโยชน์ของมนุษย์เสียทีเดียว วัชพืชบางชนิดมีดอกสวยงาม บางชนิดช่วยยึดดินไม่ให้ดินพังทลาย และบางชนิดก็ให้ประโยชน์ได้บ้างเหมือนกัน เช่น หญ้าขจรจบ อันเป็นวัชพืชที่ให้โทษร้ายแรงในไร่ข้าวโพด ขณะต้นยังอ่อน ไม่มีดอก ใช้เป็นอาหารสัตว์ได้ เมื่อต้นแก่แห้งแล้วก็ใช้ทำเยื่อกระดาษได้ดี วัชพืชจึงมีทั้งประโยชน์และโทษ เพียงแต่มีประโยชน์น้อยเท่านั้น

วัชพืช คือ พืชซึ่งเป็นโทษแก่พืชที่เราปลูกไว้ วัชพืชมีหลายชนิด ทุกชนิดเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ อาจเป็นเพราะลมพาเมล็ดมาตกไว้ หรือน้ำพัดพามา คนหรือสัตว์อาจนำติดตัวมาหล่นไว้โดยไม่ตั้งใจก็ได้ วัชพืชเป็นโทษต่อพืชปลูก เพราะคอยแย่งอาหาร น้ำ และแสงสว่าง ทำให้พืชที่ปลูกไว้ไม่เจริญเติบโต ให้ผลิตผลน้อยลง วัชพืชที่ติดมากับอาหารสัตว์ จะทำให้อาหารสัตว์นั้นมีประโยชน์น้อยลง อันเป็นเหตุให้สัตว์ให้เนื้อ นม ไข่ ได้น้อยลง ยิ่งกว่านั้น วัชพืชบางชนิดยังเป็นพิษร้ายแรง ที่อาจทำให้สัตว์ที่กินวัชพืชเข้าไปเป็นอันตรายถึงตายได้ ในปีหนึ่งๆ ประเทศไทยเราต้องเสียเงินและแรงงานไปเป็นจำนวนมากเพื่อกำจัดวัชพืช

นิยาม “วัชพืช” วัชพืช (Weeds) มีความหมายในหลายๆ ลักษณะดังนี้

วัชพืช คือ พืชที่เจริญเติบโตในที่ที่ไมตองการ

วัชพืช คือ พืชซึ่งไมเปนที่ตองการและปรารถนาในการใชประโยชนของมนุษย

วัชพืช คือ พืชที่คอยรบกวนมนุษยและพื้นที่ที่ใชประโยชนของมนุษย

วัชพืช คือ พืชที่แพรกระจาย และบุกรุกเขามาแยงพื้นที่

จากคำจำกัดความของวัชพืชดังกล่าว จึงเห็นได้ว่าพืชบางชนิดในช่วงเวลาหนึ่งและสถานที่หนึ่งอาจถือว่าเป็นวัชพืชได้ เช่น ต้นข้าวในแปลงผัก ถือได้ว่าข้าวเป็นวัชพืช หรือหญ้าเบอร์มิวดาในแปลงข้าวก็ถือว่าหญ้าเบอร์มิวดาเป็นวัชพืช และต้นข้าวในสนามหญ้าเบอร์มิวดา ต้นข้าวกับถือว่าเป็นวัชพืช ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า "พืชปลูกของอีกคนหนึ่งอาจเป็นวัชพืชของอีกคนหนึ่ง" แต่อย่างไรก็ตาม พืชบางชนิดถือได้ว่าเป็นวัชพืชตลอดเวลาอย่างเช่น หญ้าขนนก (Echinochloa crusgalli (L.) Beauv.) และ ขาเขียด (Monochoria varginalis.presl.) ในนาข้าว และ หญ้าโขย่ง (Rottboellia exaltata L.f.) ในแปลงข้าวโพด หรือแห้วหมู (Cyperus rotundus (L.) ในแปลงผัก และมีรายงานว่าในพืชชั้นสูงจำนวน 300,000 ชนิดบนโลกมีอยู่ประมาณ 30,000 ชนิดที่ถือได้ ว่าเป็นวัชพืช มีอยู่ประมาณ 1,800 ชนิด ที่ทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจแก่ผลผลิตทางการเกษตร

ขอบเขตของวิทยาการวัชพืช

วัชพืชและการควบคุม (Weeds and Their Control) เปนการศึกษาเกี่ยวกับวัชพืช และ การปองกันกําจัด ทั้งโดยวิธีการใชมือ ใชเครื่องกล การเขตกรรม ชีววิธีทางนิเวศนวิทยา และ การใชสารเคมี ซึ่งเปาหมายที่สําคัญ คือ การใชวิธีการที่เหมาะสมมีประสิทธิภาพสูง และสิ้นเปลืองคาใชจายนอยในการควบคุมวัชพืช เปนเรื่องเกี่ยวกับพืชที่มนุษยไมตองการในบางชวง เวลาและบางสถานที่ วัชพืชนั้นเราจะสามารถพบเห็นไดในทุกหนทุกแหง ทั้งในแปลงปลูกพืช ทุงหญาอาหารสัตว ทั้งหญาสาธารณะ ป่าไม แหลงน้ำ ขางถนน ขางทาง แหลงอุตสาหกรรม หรือแมแตสถานที่พักผอนหยอนใจ เชน สวนสาธารณะ ซึ่งวัชพืชสามารถเจริญเติบโตและ สามารถครอบครองพื้นที่ไดในเวลาอันสั้น

 

1.2 ลักษณะที่สำคัญของวัชพืช

วิวัฒนาการของวัชพืช (WEED EVOLUTION) มีวิวัฒนาการมาพรอมๆ กับการที่มนุษยเริ่มรูจักแยกแยะวา พืชชนิดใดมีประโยชนและมีโทษกับการดํารงอยูของตน ดังไดกลาวแลววาวัชพืชมิไดหมายถึงเฉพาะพืชที่ทําใหเกิดความเสียหายในระบบ การเพาะปลูกเพียงอยางเดียว แตยังหมายถึงพืชที่ทําใหเกิดความเสียหายในดานปศุสัตว แหลงน้ํา ความสวยงาม และระบบสาธารณูปโภคตางๆ ดวยวัชพืชที่กอใหเกิดความเสียหายในระบบตางๆ เหลานี้ อาจเปนชนิดเดียวกันหรือตางชนิดกัน ซึ่งจะขึ้นกับปจจัยหลายอยาง วัชพืชบางชนิดมีลักษณะของบริเวณที่จะขึ้น (niche) จําเพาะเชนขึ้้นไดเฉพาะในน้ำ (aquatic) บนบก (terrestrial) บริเวณที่ทําการเพาะปลูก (cropped) บริเวณท ี่ไมไดทําการเพาะปลูก (non-cropped) หรือบริเวณที่่เปนทุงหญา (grassland) เปนตน แตก็มี วัชพืชอีกหลายชนิดที่สามารถขึ้้นไดเกือบทุกบริเวณ ไมวาจะเปนบริเวณที่มนุษยจะเขาไปทําหรือไมทํา การเกษตรหรือใชประโยชนดานอื่นๆ การที่่มนุษยไดกําหนดใหพืชที่กอใหเกิความเสียหายแกระบบการผลิตทางเกษตรวาเปนวัชพืชนี้ใหไดมีการศึกษาคนควาถึงการวิวัฒนาการ (evolution) และการปรับตัว (adaptation) ของพืชซึ่งจัดว่าเปนวัชพืชกันมากมาย การไดรูจักหลักแหงการวิวัฒนาการของวัชพืช จะชวยใหมนุษยสามารถหาวิธีการปองกันกําจัด หรือจัดการวัชพืชไดถูกตองยิ่งขึ้น เกิดประโยชนตอระบบการผลิตทางเกษตรและระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวของ อยางเหมาะสมและคลองจองกัน

Baker 1974), Harlan (1975), Parker (1977), Mercado (1979) และ McWhorter และ Patterson (1980) ไดสรุปหลักและทฤษฎีแหงการวิวัฒนาการของวัชพืชไววา เกิดจากกระบวนการใหญ่ๆ 3 ประการดวยกัน คือ 1) การนําเขามาในพื้นที่ (introduction) 2) การคัดเลือก (selection) และ3) การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (genetic change) มีรายละเอียดดังนี้

1) การนําเขามาในพื้นที่ (Introduction) วัชพืชที่่เปนปญหาตอระบบการผลิตทางเกษตร หรือระบบที่เกี่ยวของอื่นๆ ในปจจุบันหลายชนิดไมไดเปนพืชดั้งเดิมของทองถิ่น ซึ่งวัชพืชชนิดนั้นก่อปัญหาอยู แตเปนพืชที่ไดมีการนําเขามาจากแหลงอื่นๆ การนําพืชเขามาจากแหลงอื่นและกลายเปนวัชพืช มีสาเหตุหลายประการ เชน

1.1) เปนพืชสวยงาม (exotic plant) พืชหลายชนิดถูกนําเขามาในพื้นที่ในลักษณะที่ผูนําเขาเห็นวาพืชชนิดนั้้นเปนพืชสวยงาม แตเมื่่อไดนําเขาไปปลูกเลี้ยงในบริเวณหรือสิ่งแวดลอมใหม ปรากฏวาพืชชนิดนั้นสามารถปรับตัวและเจริญพันธุไดรวดเร็วพอๆ กัน หรือดีกวาบริเวณหรือสภาพแวดลอมเดิม เมื่อผูนําเขามาเห็นวาพืชที่นําเขามา มีการขยายพันธุมาก ก็อาจปลอยปละละเลยเกิดความเบื่อหนายที่จะปลูกเลี้ยงไวตอไป หรืออาจมีปริมาณมากเกิน ความจําเปนจึงปลอยพืชเหลานี้ ออกสูบริเวณนอกการควบคุม พืชเหลานี้ก็จะสามารถเติบโตและ แพรกระจายกลายเปนวัชพืชที่สําคัญได

ตัวอยางของวัชพืชที่มีวิวัฒนาการเชนนี้ในประเทศไทย เชน ผักตบชวา (water hyacinth; Eichornia crassipes) ซึ่งตามหลักฐานระบุวานํามาจากประเทศอินโดนีเซีย โดยผูนําเขาเห็นวา พืชชนิดนี้มีดอกสวยงาม

1.2) เปนอาหารสัตว (forage) ในการพัฒนาปศุสัตว มีความจําเปนตองศึกษาหาพืชอาหารสัตวชนิดใหมเขามาปลูกทดลอง เพื่อปรับปรุงปริมาณและคุณภาพของอาหารสัตว อันจะชวยใหการพัฒนาปศุสัตวไดเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ การนําพืชอาหารสัตวมาทดลอง หากจัดระบบควบคุมไมดี พืชที่นําเขามานี้หลายชนิดกลายเปนวัชพืชที่รายแรง ตัวอยางที่เห็นไดชัดในประเทศไทย คือ หญาขจรจบ (Pennisetum spp.) ซึ่งนําเขามาจากพมาและฟลิปปนส ปรากฏวาหญาชนิดนี้้ไดกลาย-เปนวัชพืชที่รายแรงในขณะนี้ กลาวคือ หญาขจรจบดอกแดง ซึ่งมี 2 ชนิดคือ ชนิดดอกแดงดอกใหญ (P. pedicellatum) และชนิดดอกแดงดอกเล็ก (P. polystachyon) ซึ่งระบาดอยางรุนแรงอยูในภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ และหญาขจรจบดอกเหลือง (P. setosum) ซึ่งระบาดอยางรุนแรงอยูในภาคใตและภาคตะวันออก

สาเหตุสําคัญที่พืชอาหารสัตวชนิดนี้กลายเปนวัชพืชที่รายแรงในประเทศไทย คือการขยายพันธุอยางรวดเร็วและแพรพันธุไดงาย และในดานความชอบของสัตว (preference) ก็ปรากฏวา -

เปนรองจากหญาอื่นๆ สัตวจะสนใจหญาขจรจบก็ตอเมื่อขาดแคลนหญาชนิดอื่นเทานั้น

1.3) เปนประโยชนดานอื่นๆ พืชหลายชนิดในขณะที่ เจริญเติบโตอยูในบริเวณ หรือภายใตสภาพแวดลอมหนึ่ง อาจมีประโยชนมากกวาโทษ แตเมื่อเปลี่ยนที่เปลี่ยนสภาพแวดลอม อาจมีโทษมากกวาประโยชน ตัวอยางเชน ไมยราบยักษในประเทศไทย พืชชนิดนี้ สามารถใหประโยชนในแงการชวยเกาะยึดดินในเขตรอนและกึ่งรอนในทวีปอเมริกา แตเมื่อมาอยูในเขตรอนชื้น พืชชนิดนี้ไดกลายเปนวัชพืชที่มีปญหาอยางรุนแรงในระบบชลประทาน การเกษตร การผลิตกระแสไฟฟา และการขนสง คมนาคมตางๆ โดยเฉพาะในภาคเหนือของประเทศไทย

1.4) ปะปนกับผลผลิตหรือติดกับพาหะตางๆ (contamination) การนําเขามาในพื้นที่ในลักษณะนี้มักเปนการนําพืชที่เปนวัชพืชอยูแลว เขาไปยังพื้นที่ๆ ยังไมมีวัชพืชชนิดนี้ขึ้นหรือระบาดอยู จัดเปนการแพรกระจายของวัชพืช (dissemination)

2) การคัดเลือก (Selection) การคัดเลือกในที่นี้หมายถึงการที่พืชหรือวัชพืชชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งไดปรากฏอยูในพื้นที่หรือบริเวณนั้นแลว (existing) แตไมไดแสดงตัวเปนวัชพืช หรือเปนวัชพืชแตไมไดกอใหเกิดปญหาอยางรุนแรง ไดกลายมาเปนวัชพืชที่กอใหเกิดปญหาและความเสียหายอยางรุนแรง อันเนื่องมาจากเกิดการเปลี่ยนแปลง ของระบบนิเวศนในบริเวณพื้นที่หรือเขตที่พืชหรือวัชพืชชนิดนั้นๆ ขึ้นอยู

วิวัฒนาการโดยการคัดเลือกนี้ สามารถแบงได 3 ลักษณะคือ

- การคัดเลือกโดยธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม

- การคัดเลือกเนื่องจากการใช สารเคมี

- การคัดเลือกเนื่องจากการเขตกรรม

2.1) การคัดเลือกโดยธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม (natural or environmental selection) การคัดเลือกโดยวิธีนี้เกิดขึ้นเมื่อสภาพธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมของบริเวณที่พืชหรือ วัชพืชขึ้นอยูไดเกิดการเปลี่ยนแปลงไป เชน เกิดการระบาดของโรคและแมลง ไฟไหม้ หรือน้ำาทวม ขัง เปนตน เปนเหตุใหพืชหรือวัชพืชบางชนิดที่ทนหรือปรับตัวเขากับการเปลี่ยนแปลงไมไดตองตายลง หรือไมสามารถขยายพันธุไดตอไป และทําใหพืชหรือวัชพืชหลายชนิดที่ทนหรือปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมใหมไดกลายเปนพืชหลัก (dominant species) ในบริเวณนั้น และกลายเปนวัชพืชที่กอปญหาอยางรุนแรงได ตัวอยางเชน บริเวณที่มีหญาคาหรือสาบเสือปรากฏขึ้นเพียงเล็กนอย หากเกิดไฟไหมขึ้นในบริเวณนั้น หญาคาและสาบเสือจะกลายเปนวัชพืชหลักในบริเวณนั้น เพราะเหงาของหญาคาและรากของสาบเสือ สามารถทนตอการเกิดไฟไหมได ทําใหสามารถเจริญเติบโตใหม (regrowth) และเจริญพันธุแพรขยาย ออกไปอยางรวดเร็วและกวางขวาง

2.2) การคัดเลือกเนื่่องจากการใชสารเคมี (chemical selection) การใชสารเคมีในการเพาะปลูกพืช เชน การใชสารกําจัดวัชพืช (herbicides) หรือการใช ปุย (fertilizers) จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานประชากร (population) ของวัชพืชไดในกรณีการใชสารกําจัดวัชพืชวัชพืชที่่ไมทนทานตอสารเคมีที่ใชก็จะถูกทําลายหรือลดประชากรลงไป ทําใหการเจริญพันธุ ของวัชพืชชนิดนั้้นลดลงไปดวย วัชพืชท ี่ ทนทานตอสารเคมีที่ใชจะกลายเปนวัชพืชหลัก และเปนวัชพืชที่สรางปญหาอยางรุนแรงในที่สุด ตัวอยางของการคัดเลือกอันเนื่่องมาจากการใชสารกําจัดวัชพืช เชน การใช สารพาราขวัท (paraquat) ซึ่งเปนสารกําจัดวัชพืชประเภทถูกตาย (contact) ในการกําจัดวัชพืชในบริเวณ ทั่วๆ ไป ปรากฏวาวัชพืชที่มีเหงาหรือหัว ซึ่งจัดเปนวัชพืชคางป (perennial weeds) จะทนทานตอสารชนิด นี้ในขณะที่วัชพืชลมลุก (annual weeds) จะถูกสารชนิดนี้ทําลาย การใชสารชนิดนี้ซ้ําในบริเวณเดิมบอยครั้ง จะทําใหวัชพืชประเภทคางปเพ ิ่มประชากรมากขึ้ นอยางรวดเร็ว กอใหเกิดปญหารุนแรง เพราะวัชพืชคางป โดยทั่วไปจัดเปนวัชพืชที่ควบคุมกําจัดยากกวาวัชพืชลมลุก

นอกจากนี้ การใชสารกําจัดวัชพืชในพืชปลูกบางชนิด โดยใชสารเพียงชนิดเดียว3

อย่างซ้ำซาก จะทําใหวัชพืชบางชนิดที่แสดงอาการทนทานตอสารนั้น คอยๆ เพิ่มประชากรและกลายเป็นวัชพืชหลักของพืชปลูกชนิดนั้นๆ ขึ้นมาได ดังเชน การใชสารกําจัดวัชพืชในการปลูกขาวโพด และถั่วเหลืองในสหรัฐอเมริกา เปนตน ในการใชปุยเพื่อชวยเพิ่มผลผลิตพืชปลูก วัชพืชหลายชนิดสามารถปรับตัวหรือใชประโยชนปุยชนิด หรือสูตรผสมที่ใสใหกับพืชปลูกไดเปนอยางดีทําใหมีการเจริญเติบโตควบคูไปกับพืชปลูก กลายเปนวัชพืช ที่สําคัญของพืชปลูกชนิดนั้น วัชพืชที่ไมสามารถปรับตัวหรือใชประโยชนปุยชนิดหรือสูตรผสมที่ใสใหกับพืชปลูก ก็จะคอยๆ ลดประชากรและการเจริญพันธุลง กลายเป็นวัชพืชที่ดอยความสําคัญในพืชปลูกชนิด นั้นๆ

2.3) การคัดเลือกเนื่องจากการเขตกรรม (cultural selection) การเขตกรรม หมายถึงการปฏิบัติตางๆ ในการเพาะปลูกพืช เชน การไถพรวน (tillage) การใชชนิดหรือพันธุพืช หรือการชลประทาน เปนตน การปฏิบัติตางๆ เหลานี้มีผลทําใหวัชพืชหลายชนิด เพ ิ่มประชากรขึ้น และหลายชนิดลดประชากรลงไดตัวอยางเชน การไถพรวนเพื่ อเตรียมดิน หากมีการไถ พรวนบอยครั้งหรือหลายๆ ครั้ง วัชพืชประเภทลมลุกจะวิวัฒนาการมาเปนวัชพืชหลัก สวนวัชพืชประเภท คางปจะคอยๆ ลดประชากรลง เพราะสวนขยายพันธุซึ่งอยูใตดินจะถูกทําลายไป ในทางตรงกันขาม การปลูกพืชแบบการไถพรวนนอย (minimum tillage) หรือการไมไถพรวนเลย (non-tillage) หรือในพืชยืนตน หรือสวนไมผลจะทําใหประชากรของวัชพืชลมลุกลดนอยลง และวัชพืชประเภทคางปจะคอยๆ เพิ่ม ประชากรมากขึ้น และกลายเปนวัชพืชหลักในที่สุด

การเลือกชนิดหรือพันธุของพืชปลูกก็เปนปจจัยสําคัญในการวิวัฒนาการ การคัดเลือกแบบนี้วัชพืช หลายชนิดไดมีการปรับตัวเขากับชนิดหรือพันธุพืชโดยเฉพาะ โดยการปรับตัวใหมีลักษณะนิสัยและความตองการปจจัยเพื่อการเจริญเติบโตที่เหมือนๆ กัน ตลอดทั้งสามารถทนตอสารกําจัดวัชพืชชนิดเดียวกันดวย วัชพืชที่มีลักษณะเชนนี้จัดวามีปญหาในแงการแกงแยงแขงขันและในการควบคุมกําจัดมาก

3) การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (genetic change)

การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Genetic Change) พันธุกรรมของพืชทุกชนิดยอมมีความแปรปรวน และกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ขึ้นมาไดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมนี้เองทําใหเกิดพืชชนิดหรือพันธุใหมๆ ขึ้นมาก มนุษยไดเขาไปมีสวนอยางมากตอการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมของพืช โดยเฉพาะพืชปลูก (crops) แตสําหรับวัชพืชการ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมมักเกิดข ึ้ นเองตามธรรมชาติ สุพจน เฟองฟูพงศ (2526) ไดสรุปแหลงของความ แปรปรวนและการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในพืชตนหนึ่งๆ ไววามาจากสาเหตุสําคัญ 3 ประการคือ การผาเหลา (mutation) การรวมตัวซ้ำของยีน (genetic recombination) และการเปลี่ยนแปลงโครโมโซม (polyploidy) การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมทั้งสามสาเหตุมักเกิดขึ้นในลักษณะสุม (random) และยากแก่การคาดเดา อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในบางครั้ง เกิดจากการผสมขามกันระหวางพืชที่มีความสัมพันธมใกลชิดกันทางพันธุกรรม (hybridization) ดวย

ซึ่งในกรณีเชนนี้หากเปนการผสมขามกัน ระหวางพืชปลูกกับพืชปาหรือกับวัชพืช ก็อาจจะทําใหเกิดวัชพืชชนิดใหม ซึ่งเปนปญหาอยางรุนแรงในพืช ปลูกไดตัวอยางวัชพืช ซึ่งมีวิวัฒนาการในลักษณะนี้ ในประเทศไทยในขณะนี้คือ ขาวผี (wild rice) ซึ่งเปน วัชพืชสกุลเดียวกับขาวมีชื่อวิทยาศาสตรวา Oryza bathii ขาวผีเปนลูกผสมระหวางขาวปลูก (O. sativa) กับขาวปา (O. perennis) ซึ่งเปนวัชพืชขามปอาศัยอยูตามบริเวณที่มีน้ําขังตลอดปมีเมล็ดแข็งและมีหาง (awn) ที่เมล็ดยาว ลูกผสมท ี่ไดที่เรียกวาขาวผีนี้กลายเปนขาวซึ่ง จัดวา เปนวัชพืช (Weedy rice) เพราะมี เมล็ดแข็ง และมีหางท ี่ เมล็ดยาวเหมือนขาวปา แตมีลักษณะการงอก การเจริญเติบโตและลักษณะนิสัยเปน พืชลมลุกเหมือนขาวปลูก ขาวผีนี้บางแหงเรียกวาขาวปาดวย มีพบระบาดในแหลงการทํานาท ั่วไป โดยเฉพาะในการทํานาหวาน (Trebuil et. al, 1984) พืชปลูกชนิดอื่นที่พบวา มีโอกาสจะผสมพันธุกับพืช ปาหรือกับวัชพืชแลวไดลูกผสมเปนวัชพืชท ี่อาจเปนปญหารุนแรงไดดวย คือ ขาวฟาง และผักกาดหัว (Parker, 1977). วิวัฒนาการของพืชมาเปนวัชพืชดังไดกลาวแลวน ี้ในสภาพธรรมชาติจริงๆ อาจมีผลมาจากหลายๆ สาเหตุหรือกระบวนการรวมกัน

วิวัฒนาการโดยการคัดเลือก อาจเปนขั้นตอนตอเนื่องจากการนําเขา เชน การเป็นวัชพืช (weediness) ของหญาขจรจบดอกเหลืองในภาคใตมีผลมาจากการนําเขา และ การคัดเลือกโดยสภาพแวดลอมท ี่ เหมาะสมคือสภาพความรอนชื้น ตามดวยการคัดเลือกอันเนื่องจากการ เขตกรรม คือ การปลูกพืชยืนตน ซึ่งมีการไถพรวนนอยหรือไมมีการไถพรวนเลย ทําใหวัชพืชชนิดนี้ซึ่งแมวา จะขยายพันธุสวนใหญโดยใชเมล็ด แตโคนและกอ ซึ่งไมถูกรบกวนโดยการไถพรวน ก็สามารถเจริญเติบโต เปนตนใหม และผลิดอกออกเมล็ดขยายพันธุตอไปไดอยางกวางขวาง ตัวอยางของวิวัฒนาการที่มีสาเหตุรวมกันอีกประการหนึ่ง คือ การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของวัชพืช ทําใหเกิดความตานทานตอสารกําจัดวัชพืชท ี่ใชเปนประจํา เชน การใช atrazine ในขาวโพดเปน ตน ซึ่งในปจจุบันพบวาวัชพืชพวก Senecio spp. มีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม สามารถตานทานตอ atrazine ได

นอกจากนี้ Baker (1974) และ McWhorter และ Patterson (1980) ไดกลาวเพิ่มเติมว่าสภาวะทางสรีรวิทยา (physiological basis) และความสามารถในการผลิตสารเคมีออกมายับยั้งการเจริญเติบโตของพืชขางเคียง (allelopathic potential) ก็เปนลักษณะที่ชวยเสริมใหพืชหลายชนิดมีความเป็นวัชพืช (weediness) มากขึ้น สภาวะทางสรีรวิทยาในที่นี้เนนถึงขบวนการสังเคราะหแสงของพืช กลาวคือพืชที่มีขบวนการสังเคราะหแสงแบบ C4 จะมีอัตราการเจริญเติบโตสูงมากในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง โดยเฉพาะ อุณหภูมิในชวงฤดูเพาะปลูก ทําใหความเปนวัชพืช ของพืชประเภทนี้มีมากึ้นดวย เมื่อเปรียบเทียบกับพืช ที่มีการสังเคราะหแสงแบบ C3 วัชพืชใบแคบสวนมากจะเปนพืช C4 วัชพืชใบกวางที่ พบวาเปนพืช C4 ดวย คือ ผักโขม ทําใหวัชพืชชนิดนี้มีอัตราการเจริญเติบโตที่ รวดเร็วในสภาพที่มีอุณหภูมิสูงและความชื้น พอเหมาะ และเปนวัชพืชที่สําคัญในพืชปลูกหลายชนิด สวนความสามารถดานการผลิตสารเคมีออกมา ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืชขางเคียงนั้น วัชพืชชนิดใดที่มีลักษณะเชนนี้ จะมีความเปนวัชพืชสูงกวาวัชพืช ชนิดอื่น เพราะโดยทั่วไปวัชพืชที่ไมมีลักษณะเชนนี้ จะมีผลกระทบตอพืชปลูกก็เฉพาะในแงการแกงแยง แขงขัน (competition) ดังไดกลาวแลวในบทที่ 3 เทานั้น แตกรณีที่มีการปลอยสารเคมีออกมายับยั้งพืชปลูก ดวย ก็จะเกิดผลกระทบตอพืชปลูกแบบรบกวน (interference) ซึ่งจะเปนผลกระทบที่มากกวาการแกงแยง แขงขันเพียงอยางเดียว

ระบบนิเวศน์เกษตร (agroecosystems) มีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ

- องค์ประกอบทางชีวภาพ (biological compoment)

- องค์ประกอบทางกายภาพ (physical compoment)

- องค์ประกอบทางเศรษฐสังคม (socio-economic componemt)

องค์ประกอบทางชีวภาพของระบบนิเวศน์เกษตร สามารถแสดงปฏิกิริยาสัมพันธ์ (interaction) ระหว่างกันได้หลายลักษณะ แต่ที่สำคัญคือปฏิกิริยาสัมพันธ์ในเชิงแก่งแย่งแข่งขันกัน (competition) และในเชิงเกื้อกูลกัน (mutualism) หรือ symbiotic หรือ complementary) วัชพืชในระบบการผลิตทางเกษตรมักแสดงปฏิกิริยาสัมพันธ์ในรูปของการแก่งแย่งแข่งขันกับพืชปลูกอย่างไรก็ตาม หากมองให้กว้างถึงระบบนิเวศน์เกษตรทั้งระบบ จะพบว่าวัชพืชไม่ได้ให้เฉพาะโทษแก่ระบบ แต่ยังให้ประโยชน์ในหลายๆ ด้าน

จากการที่ไดทราบความหมายและความสําคัญของวัชพืชในระบบนิเวศนเกษตร จะเห็นไดวาในระบบการผลิตทางเกษตรนั้น หากไมได มีการควบคุมกำจัดหรือจัดการวัชพืชโดยวิธีที่ถูกตองเหมาะสมแลว ระบบการผลิตทางเกษตรและระบบที่เกี่ยวข้องจะมีประสิทธภาพค่อนข้างต่ำ อยางไรก็ตาม การที่จะจัดการหรือควบคุมกําจัดวัชพืชอยางถูกต้องเหมาะสมนั้น จําเปนตองรูและเขาใจลักษณะและนิสัยของวัชพืชเปนเบื้องต้นเสียก่อน

วัชพืช (weeds) ในทางเกษตร หมายถึง พืชที่ขึ้นผิดที่ หรือพืชที่ขึ้นในที่ที่ไม่ต้องการให้ขึ้นและทำให้ มีผลกระทบต่อระบบการผลิตทางเกษตรในด้านที่เป็นโทษมากกว่าเป็นประโยชน์ (Craft,1975) ในทาง นิเวศน์วิทยา วัชพืช หมายถึงพืชที่ขึ้นและปรับตัวเข้ากับบริเวณที่ถูกรบกวนโดยมนุษย์หรือปรากฏการณ์ ธรรมชาติต่างๆ (Baker,1974; Harlan, 1975) วัชพืช จัดเป็นสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพชนิดหนึ่งของมนุษย์ที่ สามารถพบได้ทั่วๆ ไป ไม่ว่าในสนามหญ้า ข้างทาง ริมถนน ริมรั้ว คูน้ำ แหล่งน้ำ สวน บริเวณปลูกพืช ทุ่ง หญ้า บริเวณสาธารณสถาน และในป่า พืชปลูกบางชนิดอาจถูกจัดเป็นวัชพืชได้หากขึ้นผิดที่ผิดเวลา เช่น ข้าวซึ่งร่วงหล่นในช่วงฤดูเก็บเกี่ยว และเมล็ดข้าวที่ร่วงหล่นนั้นงอกขึ้นมาในแปลงถั่วซึ่งปลูกหลังฤดูการทำ นา ข้าวที่งอกขึ้นมาในโอกาสเช่นนี้จัดเป็นวัชพืชได้ ศัพท์ทางเกษตรเรียกข้าวซึ่งงอกในภาวะเช่นนี้ว่า volunteer rice ซึ่งจัดเป็นวัชพืช เพราะเป็นพืชที่ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิต อย่างไรก็ตามพืช ปลูกที่ขึ้นมารบกวนในพืชหมุนเวียนในลักษณะเป็น volunteer นี้ ไม่ได้ถือว่าเป็นศัตรูพืชที่รุนแรงเท่ากับพืช ที่เป็นวัชพืชจริงๆ ซึ่งหมายถึงพืชที่มีประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจน้อยแต่มีโทษต่อพืชปลูกและระบบการผลิต ทางเกษตรค่อนข้างมาก

พืชที่ถูกจัดว่าเป็นวัชพืช จะมีลักษณะแตกต่างจากพืชปลูกโดยทั่วไป โดยวัชพืชจะมีการปรับตัว (adaptation) และมีวิวัฒนาการ (evolution) ไปสู่สภาพที่จะอยู่รอดมากขึ้น เช่น

1) ขยายพันธุ์และแพร่พันธุ์ได้ง่าย รวดเร็ว และสามารถขยายพันธ์ได้ทีละมากๆ มีระยะการออก ดอกและผลิตเมล็ดนาน สามารถผลิตเมล็ดได้ในสภาพแวดล้อมที่ไม่อุดมสมบูรณ์นัก

2) เมล็ดและส่วนขยายพันธุ์ มีความแข็งแรงและทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม วัชพืช บางชนิดเมล็ดมีระยะฟักตัว เพื่อหลักเลี่ยงสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่างๆ

3) มีความแข็งแรง และมีลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาที่สามารถแก่งแย่งปัจจัยเพื่อการ เจริญเติบโตกับพืชอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นพืชปลูกหรือวัชพืชด้วยกัน และบางชนิดสามารถปล่อย สารที่เป็นอันตรายกับพืชอื่น (allelochemicals) ได้ด้วย

4) มีความทนทานต่อการควบคุมกําจัด เช่น มีราก เหง้า หรือหัวหรือลำต้นใต้ดิน หรือมีลักษณะ ทางสัณฐานวิทยา หรือสรีรวิทยาอื่นๆ ที่ทำให้การกำจัดทำได้ลำบากและต้องลงทุนสูง

5) เป็นอันตรายต่อคนและสัตว์ ทำให้การกำจัดโดยคนหรือโดยสัตว์เป็นไปได้ลำบากยิ่งขึ้น

ทั้งหมดนี้พอสรุปได้ว่า การที่พืชหนึ่งพืชใดกลายมาเป็นวัชพืช โดยเฉพาะวัชพืชที่ร้ายแรง (noxious) และมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจนั้น จะต้องมีลักษณะสำคัญที่ทำให้พืชนั้นๆ มีความก้าวร้าว และทนทานต่อสภาพแวดล้อมมากกว่าพืชปลูกโดยทั่วไป ซึ่งลักษณะเช่นนี้เป็นผลมาวิวัฒนาการและการปรับตัวอย่างต่อเนื่องของพืชชนิดนั้นๆ จนกลายเป็นลักษณะประจำชนิดพันธุ์ และสามารถแพร่กระจาย ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบการผลิตทางเกษตร จนเกษตรกรต้องเข้าไปดำเนินการป้องกันกำจัด ซึ่งเป็นการเพิ่มภาระและเพิ่มต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิต ทำให้ราคาผลิตผลเกษตรต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงา ตามตัว

 2.1 การขยายพันธุ์และการแพร่กระจายพันธุ์ของวัชพืช

นิเวศนวิทยา (Weed Ecology) หมายถึง ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม (relationship of organisms to their environment) นิเวศนวิทยาของวัชพืช จึงหมายถึง ความสัมพันธของวัชพืชกับสิ่งแวดลอมที่วัชพืชขึ้น (exist) อยู สิ่งแวดลอมในที่นี้เปนผลรวมของปจจัยทั้งที่มีชีวิต (biotic) และไมมีชีวิต (abiotic) และมีบทบาทตอการเจริญเติบโต (growth and development) และการแพรกระจาย (distribution) ของวัชพืช

สิ่งแวดลอมที่มีชีวิตของวัชพืช แบงได 2 ประเภท คือ ประเภทที่เปนสิ่งมีชีวิต เชน โรคตางๆ และพืชดวยกันเอง ซึ่งอาจสามารถแกงแยงแขงขัน (competition) ปลอยสารที่่เปนตัวยับยั้ง (allelopathy) หรือสงเสริม (stimulant) หรืออยูอยางเกาะกิน (parasite) หรือเกื้อกูล (symbiosis) กัน และประเภทที่เปน สัตว เชน แมลง สัตวแทะเล็ม (grazing animal) สัตวเล็กๆ ในดิน (soil micro fauna) และมนุษย์ สวนสิ่งแวดลอมประเภทที่ไมมีชีวิตนั้น สามารถแบงเปน 2 กลุม คือ ประเภทภูมิอากาศ (climate) ซึ่งประกอบ-ดวย แสง อุณหภูมิน้ํา ลม และบรรยากาศ และสรีระภูมิ (physiographic) ซึ่งประกอบดวย ดิน และความสูงต่ำลาดชันของพื้นที่ สิ่งแวดลอมเหลานี้มีความสัมพันธและเกี่ยวของอยางมากตอการ เจริญเติบโตและการแพรกระจายของวัชพืช และทําใหวัชพืชแตละชนิดมีผลกระทบตอระบบการผลิตทางเกษตรและมีความยากงายตอการที่จะควบคุมกําจัด (control) หรือจัดการ (management) มากนอย แตกตางกันไป ลักษณะและพฤติกรรมที่สําคัญของวัชพืชที่สัมพันธกับสิ่งแวดลอม ทําใหวัชพืชมีผลกระทบกับระบบการผลิตทางเกษตรและมีความยากงายตอการควบคุมกําจัด หรือการจัดการ คือ กลไกแหงการอยูรอด (survival mechanism) ของวัชพืช กลไกแหงการอยูรอดนี้ ในความหมายทางนิเวศนวิทยา ก็คือ การเจริญเติบโตและการแพรกระจายนั้นเอง

ความสัมพันธดานพฤติกรรมของวัชพืชกับสิ่งแวดลอม ซึ่งพฤติกรรมของวัชพืชจะประกอบดวย 1) การสืบพันธุ์หรือการขยายพันธุ 2) การแพรกระจาย 3) การงอกการตั้งตัว และ 4) การเจริญเติบโต มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1. การสืบพันธุ์หรือการขยายพันธุ์ของวัชพืช

การสืบพันธุ์หรือการขยายพันธุ (Reproduction) วัชพืช ก็เหมือนพืชปลูกโดยทั่วไป คือ สามารถสืบหรือขยายพันธุได 2 แบบหรือวิธี คือ แบบใชเพศ (sexual reproduction) และแบบไมใชเพศ (asexual หรือ vegetative reproduction) วัชพืชหลายชนิดเป็นแบบขยายพันธุแบบใชเพศหรือไมใชเพศเพียงแบบเดียว แตวัชพืชบางชนิดสามารถขยายพันธุไดทั้ง 2 แบบ วัชพืชที่สามารถขยายพันธุไดทั้ง 2 แบบ ซึ่งจัดวาเปนวัชพืชที่มีปญหารุนแรงและยากแกการควบคุมกําจัดมาก โดยทั่วไปวัชพืชฤดูเดียว (annual) จะขยายพันธุโดยใชเพศ สวนวัชพืชขามฤดูหรือหลายฤดู (perennial) จะขยายพันธุโดยไมใชเพศหรือทั้ง 2 แบบ

การสืบหรือการขยายพันธุ (Reproduction) วัชพืชก็เหมือนพืชปลูกโดยทั่วไป มีการสืบพันธุ์หรือขยายพันธุ์อยู่ 2 แบบหรือวิธี มีรายละเอียดดังนี้

(1) การขยายพันธุแบบใช้เพศ (sexual reproduction) สวนสําคัญของพืชที่่ใชสําหรับการขยายพันธุโดยใชเพศ คือ เมล็ด (seed) กลไกแหงการอยูรอด ประการสําคัญของวัชพืชโดยเฉพาะวัชพืชลมลุก คือ ความสามารถในการผลิตเมล็ด วัชพืชหลายชนิดซึ่งจัดเปนวัชพืชที่มีปญหาตอระบบการเกษตรในประเทศไทย สามารถผลิตเมล็ดไดเปนจํานวนมากในแตละป (ตารางที่ 2)

 

ตารางที่่ 2 ความสามารถในการผลตเมล็ดของวัชพืชบางชนิดที่พบในประเทศไทย

 

ชนิดวัชพืช

จํานวนเมล็ดต่อต้น

จํานวนเมล็ดต่อกิโลกรัม

น้ําหนัก 1,000 เมล็ด (กรัม)

หญานกสีชมพู

7,160

713,430

1.40

แหวหมู

2,420

5,256,482

0.19

ผักโขม

117,400

2,628,421

0.38

ผักเบี้ย

52,300

7,683,077

0.13

 

 

 

การที่วัชพืชสามารถผลิตเมล็ดไดเปนจํานวนมากเชนนี้ ผลกระทบของวัชพืชที่ขยายพันธุโดยใชเพศตอผลผลิตพืชและการควบคุมกําจัดก็จะมีมากตามไปดวย โดยเฉพาะตอพืชปลูกที่เปนพืช-

ลมลุกดวยกัน การผลิตเมล็ดในเชิงปริมาณจะถูกควบคุมโดยปจจัยดานพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม แตในเชิงคุณภาพ ซึ่งจะสัมพันธกับการงอกและการตั้งตัวไดของเมล็ด จะถูกควบคุมหรือขึ้นกับปจจัยดานสิ่ง- แวดลอมเปนสวนใหญ่ ปจจัยดานสิ่งแวดลอมที่สําคัญ คือ แสง อุณหภูมิความชื้น และธาตุอาหาร สวนกลไกในการควบคุมจะมีหลักการเชนเดียวกับที่เกิดขึ้้นในพืชปลูกโดยทั่วไป การขยายพันธุโดยใชเพศของวัชพืชไมเพียง แตจะเปนการผลิตเมล็ดและสามารถขยายพันธุไดเปนจํานวนมากเทานั้น แตยังมีบทบาทดานการวิวัฒนาการ (evolution) ของวัชพืชดวย เพราะวัชพืชหลายชนิด สามารถผสมขาม (cross pollination) ไดและการผสมขามนี้ อาจเปนเหตุใหเกิดวัชพืชชนิดใหมๆ

(2) การขยายพันธุแบบไมใช้เพศ (asexual reproduction) การขยายพันธแบบไมใชเพศเปนวิธีการขยายพันธุที่สําคัญของวัชพืชประเภทคางปหรือหลายฤดู (perennial) ซึ่งสามารถแบงไดหลาย อยางดวยกัน คือ

ก. ไหล (stolon หรือ runner) เปนสวนของลําต้นพืชที่เจริญเติบโตบนผิวดิน เมื่อข้อของลําตนไปสัมผัสดินก็จะเกิดรากและต้นใหมได ตัวอยางของวัชพืชที่ขยายพันธุโดยไหล คือ บัวบก และหญาแพรก เปนตน

ข. เหงา (rhizome) เปนสวนของลําตนใตดินที่สามารถเกิดรากและเกิดหนอใหมจากขอได วัชพืชที่สามารถขยายพันธุดวยเหงาได เชน หญาคา หญาขน และหญ้าชันกาด เปนตน

ค. หัว (tuber) เปนสวนของลําตนใตดินที่ขยายใหญ โดยเก็บสะสมอาหารตางๆ ไว และหัวเหลานี้้ สามารถเจริญเติบโตเปนตนใหมได วัชพืชหลายชนิดในวงศ Cyperaceae สามารถขยายพันธุโดยใชหัว เชน แหวหมู แหวทรงกระเทียม กก หญาตะกรับ

ง. หัวกลีบ (bulb) เปนสวนของพืช ซึ่งมียอดออนถูกหุมไวดวยกาบใบ ทําใหยอด

ออน มีความสดและมีชีวิตอยูไดนาน วัชพืชที่พบวาขยายพันธุโดยใชหัวกลีบ คือ กระเทียมปา (wild garlic) ซึ่งพบทางภาคเหนือของประเทศไทย

จ. ราก (root) วัชพืชหลายชนิดสามารถเกิดตนใหมจากรากที่แผไปใตผิวดิน ยังไมมี รายงานวัชพืชที่ขยายพันธุโดยใชรากในประเทศไทย แตในตางประเทศพบวาพวก spurge บางชนิด ซึ่งเปนวัชพืชในสกุลเดียวกันกับน้ำนมราชสีห (Euphorbia sp.) สามารถขยายพันธุไดโดยใช้ราก

ฉ. ลําตน (stem) ลําตนในที่นี้ หมายถึง ลําตนที่อยูในอากาศ ซึ่งมีขอและปลอง หรือ ลําตนซึ่งอยูเหนือหรือใตผิวดินแตถูกหุมไวดวยกาบใบ ตัวอยางของวัชพืชที่ขยายพันธุโดย ลําตนที่มีขอและปลอง เชน หญาขน และหญาชันกาด ซึ่งวัชพืชพวกนี้้ หากนําลําตนมาสับเปนทอนๆ ใหมีข้อติด

อยูในแตละทอน จะสามารถเจริญเปนตนใหมไดโดยรากและตน ใหมจะเจริญมาจากขอ สวนวัชพืชที่ขยายพันธุโดยลําตน ซึ่งถูกหุมดวยกาบใบนั้น พบวา กลวยปาจะขยายพันธุโดยสวนนี้ ramet ลักษณะนี้ บางครั้งเรียกวา corm

ช. หนอ (sucker) บางครั้งเรียก offshoot เปนการเกิดตนใหมจากตาซึ่งเจริญบริเวณ โคนตนหรือกอเดิม แลวสามารถแยกมาเปนตนใหมได ตัวอยางวัชพืชที่ขยายพันธุแบบนี้ เชน จอก ผักตบชวา ตาลปตรฤาษี เปนตน

ซ. ใบ (leaf) วัชพืชหลายชนิดสามารถขยายพันธุเปนตนใหม โดยใชใบหรือสวนของใบไดโดยตนใหมอาจเกิดจากสวนหนึ่งสวนใดของใบหรือรอยใบที่ถูกตัด วัชพืชที่พบวา สามารถขยายพันธุแบบนี้้ เชน ผักเบี้ย เปนตน

ความสัมพันธของการขยายพันธุแบบไมใชเพศของวัชพืชกับสิ่งแวดลอมมีหลายประการด้วยกัน สรุปได้วา เนื้อดิน (soil texture) มีผลมากตอการเจริญเติบโตของเหงาและหัวของวัชพืช หญา Johnson grass ซึ่งเปนวัชพืชอยูในสกุลเดียวกับขาวฟาง สามารถสรางหัวไดจํานวนมากถึง 2 เทาใน ดิน-

รวน ปนทรายเมื่อเปรียบเทียบกับในดินเหนียว ซึ่งสภาพเชนนี้ก็เกิดขึ้นกับวัชพืชหลายชนิดที่มีการสรางสวนขยายพันธุใตดิน ความยาวของวันก็มีสวนสําคัญตอจํานวนหัว กลาวคือ จํานวนหัวของหญาตะกรับ ในสภาพวันสั้นจะมีมากกวาในสภาพวันยาว แตในสภาพวันยาวขนาดของหัวจะโตขึ้น ความเขมขนของแสงและปริมาณธาตุอาหารก็มีสวนเกี่ยวของกับการสราง ramet แหวหมูจะมีขนาดและจํานวนหัวที่โตและมากกวา หากไดรับแสงแดดเต็มที่ สวนธาตุอาหารนั้น ผักตบชวาจะขยายพันธุโดยใชหนอ เพราะสามารถแตกหนอไดเร็วหากไดรับธาตุอาหารเต็มที่่ แตจะขยายพันธุโดยใชเมล็ดเมื่อเกิดขาดแคลนธาตุอาหาร ซึ่งเปนลักษณะที่สําคัญของพืชปลูกและวัชพืชหลายชนิดที่จะมีการออกดอกติดเมล็ดเมื่อสภาพแวดลอมไม่เอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโตทางลําตนและใบ  

2.2 การแพรกระจาย (dispersal or distribution or dissemination)

การแพรกระจายของวัชพืช มีความหมายถึง การที่สวนขยายพันธุของวัชพืชสามารถแพรออกไปจากตนแมที่ผลิต genet และ/หรือ ramet Radosevich และไดอธิบายว่า การแพรกระจายของวัชพืชสามารถพิจารณาไดทั้งในเชิงกาละ (time or temporal) และเทศะ (space or spatial) การแพรกระจายในเชิงกาละ หมายถึง ความสามารถของสวนขยายพันธุโดยเฉพาะเมล็ดที่จะคงอยูในสภาพพักตัว (dormant) สักระยะหนึ่ง เพื่อรอระยะเวลาที่สภาพแวดลอมสําหรับการเจริญเติบโตที่ความเหมาะสม แลวจึงคอยงอก วัชพืชหลายชนิดไมมีระยะพักตัว สามารถงอกไดงาย ซึ่งกรณีเชนนี้้ ในบางครั้งเมื่องอกขึ้น มาแลวเจอสภาพแวดลอมไมเหมาะสมทําใหตนกล้าถูกทําลายไป ถือไดวาไมประสบความสําเร็จในการแพรกระจาย สวนการแพรกระจายในเชิงเทศะนั้น หมายถึง การเคลื่อนยายของสวนขยายพันธุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ซึ่งทําใหวัชพืชแพรกระจายพันธุ์ออกไปได้กว้างไกลมากขึ้น

ปจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแพรกระจายของวัชพืชในเชิงกาละและเทศะ สามารถอธิบายโดยสรุปไดดังน ี้คือ

1) การแพรกระจายในเชิงกาละ (Dispersal in time) ดังไดกลาวแล้ว่า วัชพืชที่งอกได

งาย อาจถือไดวาไมมีความเหมาะสมในการแพรกระจายในเชิงกาละ มีการพักตัว (dormancy) ของสวนขยายพันธุโดยเฉพาะเมล็ด ชวยใหวัชพืชอยูรอดและแพรกระจายได้นานขึ้น

การพักตัวของเมล็ดเกิดขึ้นได้ 3 ลักษณะ คือ

1.1) การพักตัวเนื่องจากสภาพภายในเมล็ด (innate dormancy) การพักตัวลักษณะนี้ เกิดขึ้น เนื่องจากการพัฒนาของเอ็มบริโอยังไมสมบูรณในระยะที่เมล็ดสุกแก การที่เอ็มบริโอพัฒนา ไมสมบูรณนี้ อาจเนื่องมาจากการยับยั้งการเจริญเติบโตโดยสารบางชนิด (inhibitors) ที่ผลิตขึ้นที่ผล (fruit) หรือเปลือกหุมเมล็ด (seed coat) ในระหวางที่ผลสุก (maturation) หรือเมล็ดรวง (dehiscence) เมล็ดจะพ้นจากระยะการฟกตัวในลักษณะนี้ได ก็ตอเมื่อสารยับยั้งนี้้ไดถูกทําใหลดนอยลงหรือหมดไป ซึ่งสามารถทําไดโดยใชสารเคมีบางชนิดหรือน้ำมาชะลางออก ในสภาพธรรมชาติการชะลางจะเกิดขึ้นโดยอาศัยน้ําฝนหรือน้ําชลประทาน ซึ่งหมายถึงวาจะตองมีน้ําจํานวนมากพอจึงจะชะลางสารยับยั้งนี้ไดหมด การมีน้ําจํานวนมากพอนี้้เปนการสรางเกณฑประกันให เมล็ดวัชพืชในแงที่วาจะมีความชื้นพอเพียงสําหรับการเจริญเติบโตและการตั้งตัวหลังจากงอกขึ้นมา เมล็ดวัชพืชที่มีลักษณะการพักตัวเชนนี้้โดยทั่วไปหลังจากงอกแลวจะมีโอกาสอยูรอดและตั้งตัวไดมาก เพราะมีความชื้นพอเพียง

1.2) การพักตัวเนื่องจากสภาพภายนอกเมล็ด (enforced dormancy) การพักตัวลักษณะนี้เกิดขึ้นเนื่องจากสภาพแวดลอมภายนอกเมล็ดยังไมมีความเหมาะสม ปจจัยสําคัญที่ทําใหเมล็ดมีการพักตัวแบบนี้ไดนาน คือ การมีออกซิเจนไมเพียงพอ การมีอุณหภูมิไมเหมะสม และการขาดความชื้น สําหรับการหายใจของเมล็ด ความชื้นนับวามีบทบาทสําคัญตอระยะพักตัวของเมล็ดใน ลักษณะนี้ โดยเฉพาะความชื้นกอนและระหวางการงอก การมีความชื้นพรอมๆ กับที่อุณหภูมิเหมาะสม และมีออกซิเจนเพียงพอจะทําใหน้ํายอยในเมล็ดเริ่มมีกิจกรรมและในที่สุดก็จะงอกเปนตนกลาได

1.3) การพักตัวเนื่่องจากเปลือกหุมเมล็ด (induced dormancy) การพักตัวลักษณะนี้ เกิดขึ้นเนื่องจากเปลือกหุมเมล็ดไมเอื้ออํานวยใหความชื้นและออกซิเจนเขาไปในเมล็ดได สาเหตุเนื่องมาจากเปลือกหุมเมล็ดแข็งเกินไปหรือรูที่ผิวเมล็ด (hilum) ปดสนิทเกินไป ซึ่งจะพบไดในเมล็ดวัชพืชจําพวกพืชตระกูลถั่ว เชน ถั่วผีเปนตน โดยทั่วไปเมล็ดวัชพืชจําพวกนี้ จะงอกชากวา วัชพืชจําพวกอื่น เพราะตองมีความชื้นสูงพอที่จะทําใหเปลือกหุมเมล็ดออนตัวลง จนทําใหรูที่ผิวเมล็ดเปดออก ใหอากาศและน้ําผานเขาไปที่เอ็มบริโอได

การพักตัวของเมล็ดจัดว่าเป็นกลไกแหงการอยูรอดที่สําคัญของวัชพืช และเปนตัวกําหนดการแพรกระจายของวัชพืชในเชิงกาละ ซึ่งสงผลใหวัชพืชกับพืชปลูกเกิดการแขงขันกันอยางรุนแรง เพราะการปลูกพืชโดยทั่วไปก็ตองอาศยความชื้นที่พอเพียงจึงจะเกิดความั่นใจได้วาพืชปลูกจะงอกและเจริญเติบโตได ซึ่งสภาพเชนนี้ก็เปนที่ตองการของวัชพืชดวยเพราะจะเปนตัวชวยลดการพักตัวของวัชพืชโดยทั่วไป ความชื้นจะเป็นปัจจัยสําคัญสําหรับการงอกของเมล็ดพืช ทั้งวัชพืชและพืชปลูกใน เขตรอน ทั้งนี้ เนื่องจากอุณหภูมิในเขตนี้อยูในระดับที่เพียงพอสําหรับการงอกของเมล็ดพืชอยูแลว ความชื้นจึงเปนปจจัยสาคํญที่สัมพันธกับระยะการพักตัวและแพรกระจายในเชิงกาละของวัชพืชในเขต รอน

2) การแพรกระจายในเชิงเทศะ (Dispersal in space) ซึ่งจะใหเห็นวาวัชพืชจะกระจายในเชิงเทศะไดมากนอยแคไหนขึ้ นกับปจจัย 4 ประการ คือ

2.1) ความสูงและระยะทางจากแหลงผลิตเมล็ด

2.2) ปริมาณของเมล็ด ณ แหลงผลิต

2.3) ความสามารถของเมล็ดที่จะกระจายดวยตัวเอง

2.4) กิจกรรมของพาหะ (dispersing agents)

เมล็ดวัชพืชสวนใหญซึ่งไมไดมีการปรับตัวพิเศษเพื่อการแพรกระจาย มักจะมีการแพรกระจายอยู่ในบริเวณแคบๆ ความหนาแนนของเมล็ดที่ผลิตขึ้นไดจะอยูใกลๆ กับบริเวณตนแมและจะ -

คอยๆ ลดลง เมื่อระยะทางหางจากตนแมมากขึ้น ในบางครั้งอาจพบวาความหนาแนนของวัชพืชตนใหมใกลบริเวณตนแมมีนอย ซึ่งกรณีนี้อาจมีสาเหตุสําคัญ 2 ประการ คือ เมล็ดที่งอกมีอัตราการตาย (mortality) สูง หรือเมล็ดมีการปรับตัวพิเศษใหสามารถแพรกระจายไดในระยะไกล การปรับตัวพิเศษ -

เชนนี้มีหลายลักษณะดวยกัน เชน เมล็ดอาจมีขนาดเล็ก มีน้ําหนักเบา มีขนเปนปุย มีปก มีหนาม หรือมีลักษณะพิเศษอื่นที่สามารถติดไปกับพาหะไดดี

พาหะและความสําคัญของพาหะตอการแพรกระจายของวัชพืชในเชิงเทศะ มีดังนี้

2.1) ลม (wind) การแพรกระจายของเมล็ดวัชพืชโดยลมมีหลายแบบดวยกัน ขึ้นกับ ลักษณะการปรับตัวของเมล็ด การแพรกระจายในลักษณะที่เปนฝุน (dust) อาจจะพบกับเมล็ดที่มีขนาดเล็กมาก เชน เมล็ดกลวยไมบางชนิด หรือสปอรของเฟรน หากเปนเมล็ดใหญควรจะมีน้ําหนักเบาหรือมีระยางคดังไดกลาวแลว การมีระยางคในลักษณะที่เปนปุยหรือเปนขนนก ชวยให้วัชพืชแพรกระจายโดยลม วัชพืชใบกวางที่่กระจายโดยลมจะพบมากในพืชวงศ Compositae สวนในพวกใบแคบ หญาขจรจบจะเปนตัวอยางที่ดี เพราะเมล็ดจะถูกหอไวดวย glume ที่มีขนาดเล็ก และเบา

2.2) น้ํา (water) น้ําโดยเฉพาะน้ําชลประทาน เปนพาหะที่สําคัญในการแพรกระจาย ของวัชพืชทั้งวัชพืชบกและวัชพืชน้ํา วัชพืชหลายชนิดแพรกระจายโดยทางน้ําโดยไมตองมีระยางคพิเศษ อยางไรก็ตาม เมล็ดวัชพืชแตละชนิดก็มีความสามารถในการแพรกระจายทางน้ำแตกตางกัน ขึ้นกับบริเวณจําเพาะ (niche) ของวัชพืช และลักษณะของเมล็ดที่จะเอื้ออํานวยใหลอยน้ำไดดี วัชพืชบกหลายชนิดที่เจริญเติบโตไดดีบริเวณใกลคลองชลประทานหรือแหลงน้ำมีโอกาสแพรกระจายทางน้ำไดมากกว่าวัชพืชที่มีบริเวณจําเพาะหางจากแหลงน้ํา ในบางครั้งการตัดฟนวัชพืชริมแหลงน้ำหรือริมคลอง โดยเฉพาะคลองชลประทาน จะทําใหเมล็ดหรือสวนขยายพันธุตกลงไปในแหลงน้ํา และถูกน้ํ าพัดพาไปยังที่ที่น้ําไหลหรือถูกกระแสคลื่นพัดไปถึง ยิ่งถาเมล็ดมีการปรับตัวและมีลักษณะเอื้ออํานวยใหลอยน้ําไดดีดวยแลว การแพรกระจายโดยมีน้ําเปนพาหะก็จะมีมากและกวางไกลตามไปดวย ตัวอยางเชน ไมยราบยักษและผักตบชวา

2.3) สัตว (animal) การแพรกระจายของวัชพืชโดยสัตวแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ ใหญๆ คือ การติดไปกับขนของสัตว และการที่สัตวกินวัชพืชเขาไปแลวเมล็ดวัชพืชไมถูกยอย การ ติดไปกับขนของสัตวจะเกิดขึ้นมากกับเมล็ดวัชพืชที่มีระยางคพิเศษในลักษณะเปนหนาม (barb) หรือเปนตะปอ (hook) ตัวอยางของวัชพืชที่กระจายพันธุโดยวิธีนี้มาก คือ หญาเจาชู หญาหาง จิ้งจอก หญาลูกเห็บ เป็นตน สวนการแพรกระจายโดยการที่สัตวกินเขาไปแลวยอยไมหมดนั้น พบมากในวัชพืชพวกหญาที่สัตวชอบกิน เชน หญานกสีชมพู หญามาเลเซีย หญาแพรก หญาลูกเห็บ หญาตีนกา หญาตีนนก และวัชพืชใบกวางบางชนิด เชน ผักโขม ไมยราบ หนาม เปนตน กาฝากก็เปนอีกตัวอยางหนึ่งที่กระจายพันธุโดยวิธีนี้ สัตวที่เปนพาหะ คือ นกที่กินเมล็ดกาฝาก การกระจายพันธุโดยมีสัตวที่กินพืชเปนพาหะ เช่นนี้

เกิดขึ้นโดยการที่สัตวที่กินนั้นมีการเคลื่อนยายตัวเองและขับถายมูลออกมาในบริเวณที่เคลื่อนยายไปถึง อยางไรก็ตาม ลําพังการกระจายโดยการเคลื่อนยายของสัตว อาจทําใหการระบาดหรือการเปนปญหาของวัชพืชเปนไปไดไมรวดเร็วและรุนแรงนัก ปจจัยที่ทําใหการกระจายของวัชพืชโดยมีสัตวกินพืชเปน-

พาหะเปน ไปอยางรวดเร็วและรุนแรง คือ การที่มนุษยไดนําเอามูลสัตวซึ่งมีเมล็ดวัชพืชติดมาดวยน ี้มาใชในการเพิ่มผลผลิตทางเกษตรในลักษณะเปนปุยอินทรีย ซึ่งกรณีเชนนี้ถือวาเปนการกระจายวัชพืชเขาสูบริเวณปลูกพืชโดยตรง

2.4) มนุษย (human) มนุษยจัดเปนพาหะแหงการแพรกระจายวัชพืชเชิงเทศะที่่ สําคัญ การแพรกระจายโดยมนุษยมิไดหมายความวา มนุษยจงใจจะทําใหวัชพืชระบาด แตอาจเกิดขึ้น เนื่องจากหลีกเล ี่ยงไมไดรูเทาไมถึงการณขาดความระมัดระวัง หรือขาดเครื่องมืออุปกรณที่ จะใชในการควบคุมปองกัน ตัวอยางเชน การนํามูลสัตวมาใชเปนปุยอินทรียในการเพาะปลูก มนุษยทราบดีวา มูลสัตวโดยเฉพาะ มูลโค กระบือ นั้น มีเมล็ดวัชพืชที่ยังไมถูกยอยติดมามากมาย แตมนุษยก็ยังนิยมใชมูลสัตวดังกลาวนี้ ้เพราะใหผลดีในการบํารุงดิน ทําใหดินมีความเหมาะสมตอ การเจริญเติบโตของพืชปลูก ในทางที่ถูกตองควรไดนํามูลสัตวเหลานี้ มาอบความรอนใหเมล็ด วัชพืชตายเสียกอน แตเกษตรกรโดยทั่วไปขาดเครื่องมือและอุปกรณที่จะใชอบมูลสัตว วิธีที่พอจะทําไดก็คือ การหมักหรือผึ่งแดดมูลสัตวไวสักระยะหนึ่ง ซึ่งก็ไมไดทําใหเมล็ด วัชพืชสูญเสียความงอกมากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับการอบ-

ดวยความรอน การใชมูลสัตวที่ผานเพียงการหมักหรือการผึ่งแดดหรือบอยครั้งที่่ไมผานกรรมวิธีทั้ง 2 ประการนี้เลย จึงเปนเหตุแหงการแพรกระจายของวัชพืชโดยเกษตรกรไดมาก โดยเฉพาะเกษตรกรที่ทําการเกษตรแบบดั้งเดิม (traditional farmer) การแพรกระจายวัชพืชโดยมนุษยสวนใหญจะเกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัติการทางการเกษตร ซึ่งแมวามนุษยจะไดมีการปฏิบัติอยางระมัดระวัง แตบอยครั้งก็ยังเปดโอกาสใหวัชพืชแพรกระจายได ตัวอยางเชน การปะปนไปกับเมล็ดพันธุ การเตรียมดินเพื่่อการเพาะปลูก การติดไปกับเครื่องมือการเกษตร และยวดยานขนสงตางๆ การติดไปกับดิน ซึ่งใชเปนวัสดุปลูก การใชฟางขาวหรือวัชพืช เปนวัสดุบรรจุ หรือการนําพืชอาหารสัตวไปทดลองปลูกในบริเวณพื้นที่่ หรือสิ่งแวดลอมใหม เปนตน ความระมัดระวังของมนุษยในเรื่องนี้ ในปจจุบันไดเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะที่เห็นไดชัด คือ การที่แตละประเทศไดตั้งระเบียบกฎเกณฑตางๆ ในการใชเมล็ดพันธุพืชที่มีความบริสุทธิ์สูง ความบริสุทธิ์ในที่นี้ หมายถึง ความปราศจากสิ่งเจือปน ซึ่งสวนใหญจะเปนเมล็ดวัชพืชนั่นเอง นอกจากนี้้ หลายประเทศไดถึงขั้นออกเปนกฎหมาย เชน กฎหมายกักกันพืช (quarantine) เปนตน การแพรกระจายของวัชพืชเชิงเทศะ มีบทบาทสําคัญมากตอการแพรระบาดของวัชพืชและการปองกันหรือระมัดระวังมิใหการแพรกระจายเชิงเทศะไดขยายกวางและเพิ่มมากขึ้นเปนสิ่งที่ทุกคนควรได้ชวยกันทํา ในดานการวิวัฒนาการของวัชพืช การแพรกระจายเชิงเทศะ เปนสาเหตุสําคัญประการหนึ่งที่ทําใหมีวัชพืชชนิดใหมๆ เกิดขึ้นในลักษณะการนําเขามาในพื้นที่่ (introduction)

ข้อสังเกตเฉพาะการแพร่พันธุ์ของเมล็ดวัชพืชและการกระจายของเมล็ดวัชพืช อธิบายพอสังเขปได้ดังนี้

- การแพร่พันธุ์ของเมล็ด พืชโดยทั่วไปจะมีวิธีการแพร่พันธุ์ที่ี่แตกต่างกัน แต่วิธีที่ง่ายและเห็นได้ชัดเจน คือ การแพร่พันธุ์ุ์ของเมล็ด ซึ่งจะหมายถึง การแพร่กระจายของเมล็ด เพื่อแพร่พันธุ์จากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง การแพร่พันธุ์ของเมล็ดมีหลายวิธี เช่น ลมพาไป เมล็ดของพืชประเภทนี้จะมีปีก หรือมีลักษณะเบา ทำให้สามารถลอยไปตกในที่ไกลๆ เช่น ลูกสนดอกหญ้า ฯลฯ

- การกระจายของเมล็ด ในพืชมีดอกหลังจากปฏิสนธิแล้ว ผนังของรังไข่ (Ovary wall) จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นผล ส่วนออวุล (Ovule) ที่อยู่ภายในรังไข่ จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมล็ด (Seed) และเมล็ดเหล่านี้จะกระจายจากต้นไปยังที่ต่างๆ ทำให้เมล็ดมีโอกาสเจริญไปเป็นต้นพืชในที่อื่นๆ ได้

การกระจายเมล็ด มันเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหลังจากปลูก ขั้นตอนนี้ประกอบด้วยการเคลื่อนไหวและการจัดเรียงของเมล็ดโดยมีวัตถุประสงค์เพียงอย่างเดียวในการค้นหาและค้นหาสถานการณ์ที่ดีที่สุดสำหรับการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพวกเขา ขึ้นอยู่กับพืชสภาพที่เหมาะสมกับดอกไม้จะแตกต่างกัน มีบางชนิดที่ไม่สามารถอยู่ใกล้กับพืชชนิดอื่นเพราะในหมู่พวกเขาสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาจะถูกขโมยนอกจากแสง มันเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องพูดถึงว่าเมล็ดทำหน้าที่เป็นเอนทิตีที่ช่วยให้การเจริญเติบโตและการกำเนิดของพืชใหม่และในทางกลับกันผลไม้ของพวกเขา สามารถเปรียบเทียบได้กับการเกิดของทารกมนุษย์ที่เมล็ดมีลักษณะคล้ายกับตัวอ่อนหรือถุงที่ทำให้ชีวิตใหม่ ก่อนที่จะผลิตผลไม้พืชควรเจริญและมีระยะเวลาการเจริญเติบโตที่แน่นอน แต่ละเมล็ดมีโครงสร้างและส่วนเล็กๆ ที่เรียกว่าพลัดถิ่นและเป็นหลักที่รับผิดชอบในการกระจายของเมล็ด พลัดถิ่นแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับพืชและในขณะที่บางคนอาจมีขนาดของอนุภาคฝุ่นในอื่นๆ ก็สามารถชั่งน้ำหนักได้ถึง 25 กิโลกรัม

ารกระจายตัวของเมล็ดสามารถทำได้หลายวิธีและหลายรูปแบบ ในกรณีแรกเมล็ดจะกระจายไปตามลม สิ่งนี้เรียกว่า Anemocoria ในกรณีอื่นๆ การกระจายตัวของเมล็ดนั้นเกิดจากพลังของน้ำโดยความช่วยเหลือของสัตว์ (โซโอเรีย) หรือโดยการขับเคลื่อนหรือการเคลื่อนที่ของเมล็ดเอง (autocoria)

เมื่อเห็นได้ชัดว่าการกระจายตัวของเมล็ดประกอบด้วยการกำจัดต้นเดียวกันจากพืช "แม่" เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของการเจริญเติบโตและแต่ละคนสามารถได้รับสารอาหารแสงแดดและวิตามินที่เพียงพอเราจะสามารถอธิบายได้ว่าอะไรที่แตกต่างกัน

ชนิดของการกระจายเมล็ดและกระบวนการแต่ละอย่าง ประกอบด้วย

- การกระจายของเมล็ดโดยลม หรือ Anemocoria การกระจายของเมล็ดชนิดนี้ มักเกิดขึ้นกับเมล็ดที่มีน้ำหนักต่ำกว่าและมีน้ำหนักเบากว่า ตามชื่อหมายถึงพวกเขาจะถูกลมพัดและดำเนินการเท่าที่เป็นไปได้จากพืชดั้งเดิม ในโครงสร้างของมันเมล็ดชนิดนี้มีชนิดของร่มชูชีพที่เมื่อเคลื่อนไหวอนุญาตให้พวกมันบินและตกลงไปในทางที่ถูกต้องและเคลื่อนย้ายพวกมันไปให้ไกลที่สุด มีพืชประเภทอื่นที่แทนที่จะมี "ร่มชูชีพ" ในพลัดถิ่นพวกมันมีปีกที่ทำงานได้มากกว่าหรือน้อยกว่าเหมือนเฮลิคอปเตอร์ ข้อดีของการกระจายตัวของเมล็ดพันธุ์นี้ คือ สามารถนำไปใช้ในระยะทางไกลได้ อย่างไรก็ตาม ปัญหาคือว่า ในระหว่างกระบวนการนี้คุณสามารถสูญเสียเมล็ดพันธุ์พืชที่เพียงพอและตกอยู่ในดินแดนที่มีบุตรยากซึ่งในที่สุดพวกเขาจะไม่เกิดผลหรือเติบโต

- การกระจายของเมล็ดด้วยน้ำ เช่นเดียวกับการกระจายตัวของลมที่เกิดขึ้นในเมล็ดที่มีน้ำหนักน้อยกว่าการกระจายตัวของเมล็ดด้วยน้ำเกิดขึ้นโดยเฉพาะใน diasporas และพืชที่มีที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติใกล้กับสภาพแวดล้อมทางน้ำเช่นสระน้ำแม่น้ำชายหาด พืชใช้ประโยชน์จากความใกล้ชิดตามธรรมชาติของพวกเขาลงไปในน้ำและใช้เป็นเครื่องมือธรรมชาติในการเคลื่อนย้ายเมล็ดพันธุ์ของพวกเขาและได้รับการเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ดีขึ้น กระบวนการเริ่มต้นเมื่อพืชต้นกำเนิดต้นกำเนิดสร้างเมล็ดและตกอยู่ในน้ำ เมล็ดลอยอยู่ในน้ำและเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องจนกว่าสักวันหนึ่งจะมาถึงสื่อที่สามารถเจริญเติบโตได้ ข้อเสียของการกระจายตัวแบบนี้เหมือนกับก่อนหน้านี้: เมล็ดสามารถไปถึงดินแดนที่มีบุตรยากซึ่งพวกเขาไม่มีสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาและจะตาย

- การกระจายตัวของเมล็ดโดยการกระทำของตัวเองหรือ autocoria ในที่สุดมีการกระจายชนิดของเมล็ดพันธุ์ที่ดำเนินการโดยการกระทำของตัวเองและไม่ได้รับความช่วยเหลือจากแรงภายนอกใดๆ เรื่องนี้เป็นที่รู้จักกันในนาม autocoria ในกรณีเหล่านี้สิ่งที่เกิดขึ้น คือ เมื่อพืชเจริญเติบโตเต็มที่มันจะระเบิดเป็นปั๊มและในทางกลับกันเมล็ดที่มีผลไม้เหล่านี้จะถูกพาไปและมีความเป็นไปได้ในการเจริญเติบโตสุกและพัฒนาโดยไม่มีปัญหา โดยทั่วไปสิ่งที่เกิดขึ้นคือเมื่อผลไม้โตขึ้นแรงสร้างขึ้นหรือความตึงเครียดที่ให้แรงขับดันทั้งหมดเพื่อ "ระเบิด" และส่งเมล็ดไปยังที่อื่น เมื่อผลแก่ เมล็ดกระเด็นออก มันเป็น

2.2 การงอกและการเจริญเติบโตของวัชพืช

2.2.1 การงอกและการตั้งตัว (germination and establishment)

การงอกและการตั้งตัวถือเปนกระบวนการเกือบสุดทายกอนที่วัชพืชจะแสดงบทบาททั้งในเชิงเปนโทษและเปนประโยชนตอระบบนิเวศนเกษตร การงอกเปนการเปลี่ยนแปลงจากเมล็ดหรือตาไปเปนตนกลา ในธรรมชาติการงอกมิไดเกิดขึ้นกับทุกเมล็ดหรือทุกชิ้นของสวนขยายพันธุโดยไมใชเพศ (ramet) ที่วัชพืชผลิตขึ้น และเมล็ดหรือตาที่งอกเปนตนกลาอาจไมสามารถตั้งตัวเจริญเปนตนที่สมบูรณได้ ซึ่งลักษณะเชนนี้ก็เกิดขึ้นในพืชปลูกเชนกัน สิ่งแวดลอมมีสวนสําคัญในการงอกของเมล็ดวัชพืชและพืชปลูก เมล็ดของทั้งวัชพืชและพืชปลูกมีความตองการสิ่งแวดลอมอยางเดียวกัน แตอาจตางกันบ้าง

ในดานปริมาณและคุณภาพของสิ่งแวดลอม ซึ่งขอแตกตางนี้้จะเปนประโยชนในดานการจัดการวัชพืช โดยเฉพาะหากสามารถปรับสภาพแวดลอมในเชิงปริมาณและคุณภาพใหมีความเหมาะสมมากที่สุดกับการงอกและการตั้งตัวของพืชปลูก แตเหมาะสมนอยกับวัชพืช ก็ถือวาเปนความสําเร็จในดานการจัดการ แตโดยทั่วไปจะทําไดยากมาก เพราะชวงของความแตกตางมักจะแคบ ปจจัยดานสิ่งแวดลอมที่่ เกียวของกับการงอกของเมล็ด คือ แสง อุณหภูมิ ความชื้น ออกซิเจน และ pH ซึ่งบทบาทในเชิงสรีรวิทยาของปจจัยเหลานี้ตอการงอกของเมล็ด ศึกษาได้จากตํารา หนังสือ เอกสาร พฤกษศาสตรหรือเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ หรือเว็บไซท์ที่เกี่ยวของกับเมล็ดพืชได้โดยทั่วไป) ในที่นี้จะกลาวถึงรายละเอียดโดยสังเขปในสวนที่เปนปรากฏการณทางนิเวศนวิทยา เทานั้น เพราะเปนรายละเอียดหรือขอมูลที่สัมพันธและมีความสําคัญตอการจัดการวัชพืชเปนอยางมาก

ในระบบการผลิตทางเกษตร ระยะเวลาและปริมาณการงอกของเมล็ดและการเจริญเปน

ต้นกลาของวัชพืชเปนสิ่งสําคัญที่เกี่ยวของกับการจัดการ เมล็ดจะงอกก็ตอเมื่อมีปจจัยตางๆ สมบูรณ และโดยเฉพาะ หากเมล็ดมีการพักตัว (dormancy) ไดแลว ปจจัยเหลานี้ตองมีมากพอที่จะใชสลายการ พักตัวดวย โดยทั่วไปจะพบการงอกของเมล็ดวัชพืชในบริเวณผิวดิน หรือลงไปในดินไมลึกนัก เพราะหากลึก เกินไป แสง ออกซิเจน และความชื้น จะมีไมพอหรือในบางกรณีอาจมีพอ แตเมล็ดมีขนาดเล็กเกินไป ทําให้ไมมีศักยภาพที่จะแทงตนขึ้นมาบริเวณผิวดินไดและทําใหมีอัตราการตาย (mortality) สูงดวย เมล็ดวัชพืชทที่มีขนาดเล็ก เชน ผักโขม หรือหญาตางๆ จึงมักจะพบวางอกจากผิวดินเปนสวนใหญ แตวัชพืชที่มีขนาดของ เมล็ดโต เชน สะอึก ผักยาง ผักเบี้ยหิน สามารถจะงอกไดทั้งจากบริเวณผิวดิน และจากบริเวณที่ลึกลงไปจาก ผิวดินถึง 8-10 เซนติเมตร หากปจจัยที่เกี่ยวของกับการงอกมีเพียงพอ

การงอกของเมล็ดในบางครั้งแมวาจะไดรับปจจัยทุกอยางเพียงพอหรือพอเหมาะสม แตคุณภาพของปจจัยก็เปนสิ่งสําคัญ โดยเฉพาะปจจัยที่เกี่ยวกับแสง ดังไดทราบแลววาแสงเกี่ยวของกับการงอกของเมล็ด โดยผานทาง phytochrome (P) ซึ่งมีอยูในเมล็ด เมล็ดจะงอกเมื่อ phytochrome ไดรับและดูดซับ (absorb) แสง ซี่งอยูในชวงคลื่นแสงสีแดง (0.66 micron) ซึ่งการที่เมล็ดไดรับแสงสีแดงนี้ จะเปลี่ยน phytochrome จากระดับรับแสงสีแดงได (Pr ) ซึ่งไมกระตุนการงอกของเมล็ดไปอยูในระดับรับแสงสี farred (Pfr) ซึ่งกระตุนการงอก และเมื่อ phytochrome อยูในระดับรับแสง far-red ไดหากมีแสงในชวงคลื่น far-red (0.73 micron) สองมาถูกเมล็ด phytochrome จะดูดแสง far-red ไวทําใหเปลี่ยนตัวเองกลับไปอยู ในระดับที่รับคลื่นแสงสีแดงได เมล็ดก็จะไมมีการงอก โดยสรุปก็คือ เมล็ดจะงอกเมื่อไดรับแสงสีแดง เพื่อเปลี่ยน phytochrome ใหเปน Pfr ซึ่งกระตุนการงอก หากไดรับแสง far-red phytochrome จะเปลี่ยนจาก Pfr เปน Pr ซึ่งไมกระตุนการงอก Pr จะตองไดแสงสีแดงเพื่่อเปลี่ยนเปน Pfr เสียกอนเมล็ดพืชจึงจะงอก ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

 

Red right

0.6 micron

 

 
 

 

Inactive Form Pr phytochrome Pfr Active Form

 

 
 

 

Far red right

0.7 micron

 

รูปที่ 2.31 การทำงานของ phytochrome ที่เกี่ยวกับการงอกของเมล็ด

 

ในสภาพที่มีความมืด เชน เมล็ดถูกฝงอยูในดินลึกเกินไปหรือถูกเก็บไวในที่มืด Pfr จะมีอยู่-

นอยมาก ทําใหเมล็ดไมไดรับการกระตุนใหเกิดการงอก กรณีเชนนี้ หากเมล็ดไดรับแสงโดยปกติ ซี่งสวนใหญจะเปนแสงสีแดง และมีสิ่งแวดลอมอื่นๆ ในระดับที่เหมาะสมเมล็ดจะงอกทันที แตหากเมล็ดไดรับแสงที่ไมปกติ คือ แสง far-red เมล็ดก็จะไมงอก เพราะ phytochrome ถูกเปลี่ยนจาก Pfr เปน Pr ในสภาพธรรมชาติของสังคมวัชพืชและพืชปลูก (weed-crop community) แสงที่สองผานทรงพุม (canopy) ของพืชปลูกจะเปน แสงในชวงคลื่น far-red เพราะแสงในชวงคลื่นสีแดงจะถูกดูดซับไวโดยใบพืช แสง far-red ที่สองไปถึงพื้นดินจะไปยับยั้งการงอกของเมล็ดวัชพืช ทําใหเมล็ดวัชพืชที่่ไมงอกกอนทรงพ่มพืช

ปลูกจะคลุมพื้นที่่ไม่สามารถงอกได้ ลักษณะเชนนี้มีความสําคัญเปนอยางมากตอการจัดการวัชพืช และเปนขออธิบายไดวาทําไมจึงพบวัชพืชในบริเวณระหวางแถวมากกวาบริเวณระหวางตนของพืชปลูก และเมื่อใบขอบพืชปลูกคลุมพื้นที่แลว วัชพืชจะงอกขึ้นมาอีกเพียงเล็กนอย เมล็ดวัชพืชที่งอกขึ้นมาและเปนปญหาตอการเกษตรนั้น มักเปนเมล็ดที่ตกคางขามปมากกวาเมล็ดที่เกิดขึ้นใหมๆ โดยทั่่วไปเมล็ดวัชพืชไมวาจะเปนเมล็ดที่รวงหลนในบริเวณนั้นหรือที่แพรกระจายเขามาสามารถจะอยูในดินไดนาน และเกิดการสะสมมากขึ้นเรื่อยๆ ดินจึงเปนแหลงสะสมเมล็ดวัชพืช (weed seed reserve หรือ seed bank) ที่สําคัญ เมล็ดวัชพืชจะลดจากดินไปไดก็โดยการงอกและการตายโดยธรรมชาติหรือการถูกทําลายจากศัตรูตางๆ (predation) การลดลงโดยการงอกหรือการตายโดยธรรมชาติขึ้นกับสิ่งแวดลอมและชนิดของวัชพืช เมล็ดบางชนิดมีอัตราการตายสูง บางชนิดอยูในดินไดนานหลายๆ ป บางชนิดงอกไดงายและรวดเร็ว บางชนิดงอกมาแลวมีอัตราการตายสูง ซึ่งทั้งหมดนี้มีผลกระทบตอระบบการจัดการเปนอยางมาก โดยเฉพาะวัชพืพืชที่่สามารถงอกไดงายหรือที่สามารถอยูในดินไดนานโดยไม่สูญเสียความงอก (viability) พฤติกรรมการงอกของเมล็ดวัชพืชแบงได 2 ลักษณะ คือ งอกครั้งเดียวพรอมๆ กัน (quasisimultaneous) และงอกอยางตอเนื่อง (continuous) การงอกทั้ง 2 ลักษณะนี้้ เกี่ยวของกับการพักตัวของเมล็ด และอาจมีผลในดานเปอรเซ็นตความงอกรวมเทาๆ กัน แตผลในดานการแกงแยงแขงขัน และการจัดการจะแตกตางกัน วัชพืชที่งอกพรอมๆ กันจะมีความสามารถในการแกงแยงแขงขันรุนแรงกวา แตจัดการงายกวาวัชพืชที่ทยอยงอกหรืองอกอยางตอเนื่อง ในแงการตั้งตัว (establishment) ของวัชพืชหลังจากงอก วัชพืชจะตั้งตัวไดก็ตอเมื่อมีปจจัยเพื่อการเจริญเติบโตพอเพียงและไมมีอันตราย (hazard) จากศัตรูหรือสิ่งแวดลอม ในกรณีของวัชพืชที่แพรกระจายไปสูแหลงใหมนั้น การปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมใหม เปนปจจัยสําคัญในการตั้งตัว แตวัชพืชที่แพรกระจายอยูในบริเวณเดิมหรือบริเวณที่มีสิ่งแวดลอมเหมือนหรือคลายกับบริเวณ เดิมการตั้งตัวจะดําเนินไปโดยสะดวกหากสิ่งแวดลอมเหมาะสมและไมมีอันตรายมารบกวน เพราะไดมีการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมไดดีอยูแลว วัชพืชที่แพรกระจายในถิ่นเดิมจึงเปนวัชพืชที่คอนขางจะกําจัดยากกวาวัชพืชที่แพรกระจายเขามาใหมๆ

2.2.2 การเจริญเติบโต (Growth and development)

หลังจากตนกลาตั้งตัวไดแลวก็จะมีการเจริญเติบโตอยางเปนอิสระจากแหลงอาหารเดิม คือ เมล็ด หรือหัว หรือสวนขยายพันธุอื่นๆ การเจริญเติบโตหลังจากนจะเปนการใชประโยชนปจจัยเพื่อการเจริญเติบโตจากสิ่งแวดลอม เชน แสง ความชื้น และธาตุอาหาร วัชพืชจะใชประโยชนปจจัยเหล่าน้อย ในลักษณะแกงแยงแขงขันระหวางวัชพืชชนิดเดียวกัน ระหวางวัชพืชตางชนิด และกับพืชปลูก การแกงแยงแขงขันกับพืชปลูกเปนปญหาสําคัญที่ทําใหผลผลิตของพืชปลูกลดลง ซึ่งลักษณะและศักยภาพของการแกงแยงแขงขันระหวางวัชพืชกับพืชปลูกจะไดกลาวถึงในหน่วยเรียนต่อไป ดังนั้น การเจริญเติบโตของวัชพืชแตละตนจะมีมากหรือนอย นอกจากจะขึ้นอยูกับปริมาณที่มี่อยูของ ปจจัยทั้ง 3 ประการที่กลาวถึงแลว ยังขึ้นกับชองวาง (space) ซึ่งวัชพืชแตละตนจะใชในการเจริญเติบโต และแตกกิ่งกานสาขาและใบของตัวเองดวย การมีความหนาแนนของประชากรมากจะใหการแตกรากและ แตกbj’งกานของวัชพืชแตละตนมีนอย แตชีวมวล (biomass) ตอพื้นที่อาจไมแตกตางกัน กลาวโดยสรุป การสืบพันธุการแพรกระจายการงอกและตั้งตัวและการเจริญเติบโตเปนกลไกแหงการอยูรอดของวัชพืช ซึ่งสัมพันธกับสิ่งแวดลอม อันเปนหลักการสําคัญในทางนิเวศนวิทยาของวัชพืช

ลักษณะตางๆ ดังกลาวนี้ เกี่ยวของโดยตรงกับความมากหรือนอยในการเปนวัชพืช (weediness) ของพืชและกับความยากหรืองายในการจัดการ เพื่่อใหการผลิตทางการเกษตรได ประสบความสําเร็จการใชวิธีการ (method หรือ measure) หรือกลยุทธ (strategy) ใดๆ ก็ตามใน การควบคุมกําจัดหรือจัดการวัชพืชจําเปนตองรูและเขาใจถึงกลไกแหงการอยูรอดเหลานี้้ จึงจะสามารถจัดการวัชพืชไดถูกวิธีและมีความเหมาะสม

(http://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/weed/pdf/part2.pdf)

 

ตัวอย่าง : การแพร่กระจายและการระบาดของผักตบชวา

ผักตบชวา ชื่อสามัญ Water Hyacinth, Floating water hyacinth, Java Weed. ผักตบชวา ชื่อวิทยาศาสตร์ Eichhornia crassipes (Mart.) Solms (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Eichhornia speciosa Kunth) จัดอยู่ในวงศ์ผักตบ (PONTEDERIACEAE) ผักตบชวา เป็นพืชล้มลุก อายุหลายฤดู สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้ำ มีถิ่นกำเนิดในแถบลุ่มน้ำอเมซอน ประเทศบราซิล ในทวีปอเมริกาใต้ มีดอก สีม่วงอ่อน คล้ายช่อดอกกล้วยไม้ และแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจนกลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้ำทั่วไป มีชื่อเรียกในแต่ละท้องถิ่น คือ ผักปอด, สวะ, ผักโรค, ผักตบชวา, ผักยะวา, ผักอีโยก และผักป่อง

ผักตบชวาถูกนำเข้ามาในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2444 ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยนำเข้ามาจากเกาะชวา ในฐานะเป็นไม้ประดับสวยงาม โดยขณะเสด็จประพาสประเทศอินโดนีเซีย พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชชนนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2439 สมเด็จพระนางเจ้าฯ ได้ทอดพระเนตรเห็นนางกำนัล ตลอดจนเจ้านายฝ่ายในของสุลต่าลเกาะชวาได้ใช้ดอกของพืชชนิดนี้ทัดหู มีความสวยงามของสีม่วงอมฟ้าพร้อมกับมีดอกที่ใหญ่ จึงได้มีรับสั่งให้เก็บผักตบชวาจำนวน 3 เข่ง เพื่อนำมาปลูกไว้ในประเทศไทย พร้อมกับนำน้ำจากพื้นถิ่นกลับมาด้วยจำนวน 10 ปี๊บ เพื่อไม่ให้ผักตบชวาผิดน้ำ โดยขณะนั้นผักตบชวาก็เพิ่งถูกนำเข้าไปในเกาะชวาจากเจ้าอาณานิคมฮอลันดา โดยแรกเริ่มใส่อ่างดินเลี้ยงไว้หน้าสนามวังสระปทุม ผักตบชวาก็เจริญเติบโตงอกงามอย่างมากมาย ถึงแม้จะเปลี่ยนน้ำแล้วก็เติบโตได้ดีจนออกดอกเพียงระยะเวลาแค่ 1 เดือน และได้ทรงพระราชทานหน่อให้เจ้านายพระองค์อื่นและบรรดาข้าราชบริพารนำไปปลูกด้วย เพียงแค่ 6 เดือน ผักตบชวาก็แพร่กระจายพันธุ์จนเต็มวังสระปทุม ต้องนำไปปล่อยทิ้งไว้ที่คลองสามเสนหลังวัง พร้อมกับคลองอื่นๆ เช่น คลองเปรมประชากร, คลองผดุงกรุงเกษม ในระยะแรกประชาชนชาวไทยก็ได้ใช้ดอกของผักตบชวามาทัดหูเพื่อความสวยงามบ้าง แต่หลังจากนั้นไม่นานก็เสื่อมความนิยมลง เหตุเพราะการแพร่กระจายพันธุ์อย่างรวดเร็วนั่นเอง

(https://th.wikipedia.org/wiki/ผักตบชวา)

ดังนั้น ก่อนที่จะกล่าวถึงแนวทางหรือวิธีการในการควบคุมหรือป้องกันจำจัดวัชพืช เราควรทำความเข้าใจเสียก่อนว่า วัชพืชคืออะไร มีการขยายพันธุ์ การกระจายพันธุ์ในรูปแบบใดบ้าง มีผลกระทบต่อกิจกรรมหรือความต้องการของคน หรือถ้ายอมให้ขึ้นอยู่ในระบบนิเวศแล้วจะทำให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เราจึงหาทางควบคุมการแพร่กระจายหรือต้องกำจัดออกไปจากระบบการเพาะปลูกหรือระบบนิเวศ เนื่องจาก ในจำนวนพืชที่มีเมล็ดทั้งหมดประมาณ 250,000 ชนิด มีอยู่เพียง 250 ชนิดหรือประมาณ 0.1 เปอร์เซ็นต์ที่จัดเป็นวัชพืชสำคัญในพื้นที่ที่ทำการเกษตร และที่จัดเป็นวัชพืชร้ายแรงจริงๆ มีอยู่เพียง 25 ชนิด หรือประมาณ 0.01 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น

บทบาทของวัชพืชในด้านการเกษตร มีรายงานทางด้านการแข่งขันและความเสียหายที่เกิดจากวัชพืชมากมาย โดยเฉพาะความเสียหายในด้านผลผลิตข้าวอาจมากถึง 25-75 เปอร์เซ็นต์ ด้านที่เป็นโทษต่อระบบเกษตร ได้แก่ ทำให้คุณภาพและปริมาณของผลผลิตลดลงเนื่องจากการแก่งแย่งปัจจัยเพื่อการเจริญเติบโต และการปนเปื้อนของชิ้นส่วนวัชพืช ทำให้คุณภาพผลผลิตลดลง ผลผลิตมีราคาตกต่ำ เป็นที่อยู่อาศัยของโรคและแมลงศัตรูพืช ต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายในการป้องกันกำจัดโรคและแมลง ทำให้ระบบชลประทานเสียหายเนื่องจากการอุดตันทางระบายน้ำ เพิ่มต้นทุนการผลิตอันเนื่องมาจากการลงทุนการกำจัดวัชพืช เกิดผลเสียต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากการใช้สารเคมี หรือการใช้ไฟเผา อย่างไรก็ตามยังมีวัชพืชบางชนิดมีประโยชน์ในแง่ต่างๆ เช่น ช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศ รักษาความชุ่มชื้นของดิน ใช้เป็นอาหารสัตว์ ช่วยดูดซับสารพิษจากแหล่งน้ำ ทำเป็นวัสดุจักสาน หัตถกรรม ตลอดจนใช้เป็นพืชสมุนไพร (https://meanhh.wordpress.com/2009/03/16/วัชพืช)

บทบาทของวัชพืชในด้านนิเวศวิทยา กล่าวถึงประโยชน์ของวัชพืชในระบบนิเวศว่า วัชพืชช่วยปกคลุมดินและป้องกันดิน ทำให้ดินไม่เกาะตัวกันแน่นเกินไป ช่วยชะลอการสูญเสียธาตุอาหาร รากของวัชพืชช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดิน เป็นแหล่งอาหารของสิ่งมีชีวิต เป็นพืชขั้นแรกของกระบวนการทดแทน (succession) หลังจากที่สภาพพื้นที่เดิมถูกทำลายไป เป็นแหล่งรวมพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ (https://meanhh.wordpress.com/2009/03/16/วัชพืช)

หน่วยที่ 3

ความสัมพันธ์ระหว่างวัชพืชกับพืชปลูกและมนุษย์ การแข่งขันระหว่างพืชปลูก

กับวัชพืช

 

3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างวัชพืชกับพืชปลูกและมนุษย์

วัชพืชก่อให้เกิดปัญหาในกิจการต่างๆ หลายแขนง ซึ่งล้วนก่อให้เกิดผลเสียทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก โดยเฉพาะในแง่การเกษตร วัชพืชจัดว่าเป็นตัวการที่สำคัญอันหนึ่งที่ทำให้ผลผลิตลดลง การใช้มาตรการเพื่อควบคุมวัชพืชเพียงวิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะ อาจไม่สามารถขจัดปัญหาของวัชพืชได้ จำเป็นต้องพิจารณาถึงทุกขั้นตอนของการปลูกพืชว่าจะสามารถหาวิธีการใดที่มีผลต่อการแก้ปัญหาวัชพืช การควบคุมทางกายภาพ การเขตกรรม การใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช การควบคุมทางชีวภาพ และการใช้กฎหมายควบคุม โดยนำวิธีการเหล่านี้มาผสมผสานควบคู่ไปกับการพิจารณาถึงสภาพของพื้นที่ปลูก ชนิดของพืชที่ปลูก สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร ตลอดจนภาวะทางการตลาดของผลผลิตการเกษตรนั้นๆ โดยคำนึงถึงหลักการที่ว่าเกษตรกรยอมรับและสามารถนำวิธีการอันนี้ไปปฏิบัติได้ ทั้งหาซื้อวัสดุและอุปกรณ์ที่จะนำไปปฏิบัติได้ด้วย และเป็นวิธีการที่ให้ผลตอบแทนสูงสุด จะเป็นมาตรการในการแก้ปัญหาวัชพืชที่เหมาะสมให้กับเกษตรกรแต่ละบุคคลหรือท้องถิ่น เมื่อเกษตรกรยอมรับวิทยาการด้านนี้ไปใช้จึงจะมีผลในทำงปฏิบัติ ผลที่สุดก็สามารถแก้ปัญหาวัชพืชได้ ทำให้การพัฒนาการเกษตรที่มีวัชพืชเป็นอุปสรรคจะหมดไป

ความเสียหายที่เกิดจากวัชพืช วัชพืชสามารถพบเห็นไดทุกหนทุกแหง ทั้งในแปลงปลูกพืช ทุงหญา ปาไม แหลงน้ำ ริมทาง แหลงอุตสาหกรรม และสถานพักผอนหยอนใจ วัชพืชสามารถเจริญเติบโตและครอบครองพื้นที่ ไดในระยะเวลาอันสั้น จนกอใหเกิดความเสียหายนานับประการ มีการประมาณกันวาความเสียหายจากศัตรูพืชที่เกิดกับพืชปลูกนั้น ประมาณ 42 เปอรเซ็นต์ เปนความเสียหายที่เกิดจากวชพืช สวนที่เกิดจาก โรค แมลง และ ไสเดือนฝอย มีเพียง 27 เปอรเซ็นต 28 เปอรเซ็นต์ และ 3 เปอรเซ็นต์ ตามลําดับ โดยความเสียหายของพืชปลูกที่เกิดจากวัชพืช มีดังตอไปนี้

1) ทําใหผลผลิตของพืชปลูกลดลง จากการแกงแยงธาตุอาหาร น้ำ และแสงแดด โดยขนาดของผลผลิตที่ลดลงอันเนื่องจากวัชพืชนั้นขึ้นอยูกับตําแหนง ความหนาแนนของประชากรวัชพืช และวัชพืชบางชนิดสามารถแขงขันไดมากกวาวัชพืชอีกบางชนิด

2) ทำให้เพิ่มคาใชจายในการควบคุมและปองกันกําจัดโรค-แมลง วัชพืชมักจะถูกโรค-แมลงที่เปนขนิด เดียวกับที่ทําลายพืชปลูกเขาทําลาย และอยูอาศัย เชน Scirpus maritmus และ หญาขาวนก (Echinochloa crusgalli) เปนที่อยูอาศัยของเชื้อ Pyricularia aryzae (โรค blast ของขาว) และ วัชพืชพวกหญาแทบทั้งหมดมักเปนพืชอาศัยของเพลี้ยกระโดดสีเขียว และเพลี้ยกระโดดสีน้ํา ตาลทําใหเพลี้ยทั้งสองชนิดมีระบาดตลอดปหรือ พวกผักปราบ (Commellina spp.) กกทราย (Cyperusiria) แหวหมู(Cyperus rotundus) หญานกสีชมพู (Echinochloa colona) และ กะเม็ง (Eclipta prostrata) ลวนแตเปนพืชอาศัยของไสเดือนฝอยในนาขาว

3) ทําใหคุณภาพของผลผลิตลดลง ผลผลิตเมล็ดพืชปลูกที่ปะปนดวยเมล็ดวัชพืชจะทําใหคุณคา ทางอาหาร และมูลคาของผลผลิตลดต่ำลง

4) ทำให้เพิ่มคาใชจายในการบํารุงรักษา สนามหญาและสถานที่พักผอนหยอนใจ ดังจะเห็นไดวาใน สนามหญา สวนสาธารณะ สนามกอลฟ จําเปนตองมีการกําจัดวัชพืชอยูเสมอทําใหสิ้นเปลืองคา ใชจาย หรือตามแหลงน้ำที่สรางขึ้น มักจะถูกรบกวนดวยวัชพืชน้ำ ซึ่งตองมีการขจัดออก

ดวยแรง คนหรือเครื่องจักรอยูเสมอ

5) ทำให้เกิดการกีดขวางระบบการชลประทาน วัชพืชน้ํา มีผลกระทบต่อการไหลของน้ำในระบบชลประทานจัดส่งน้ำไปยังแปลงเพาะปลูกของเกษตรกร การผลิตกระแสไฟฟาจากพลังน้ํา และการคมนาคมทางน้ำ ซึ่งความเสียหายอันนี้ สงผลกระทบทั้งทางดานการเกษตรและอุตสาหกรรม อีกทั้งเมล็ดวัชพืชอาจลอยไปกับน้ำจากคลองส่งน้ำสู่แปลงเพาะปลูก แพร่พันธุ์จากแปลงสู่แปลงและในสภาพหรือชวงที่น้ํามีไมเพียงพอ การมีวัชพืชน้ําขึ้นอยูในคลองชลประทานไมเพียงแตจะปองกันการเคลื่อนที่ของน้ํา แลวยังทําใหปริมาณน้ําลดนอยลง โดยขบวนการคายน้ำของวัชพืชได อีกดวย

6) ทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพของมนุษยและสัตวเลี้ยง ละอองเกสรของวัชพืชบางชนิดทําให เกิดอาการผื่นคันหรือระคายเคืองผิวหนัง ตลอดจนอาการภูมิแพบางชนิดได เชน หญา แพรก (Cynodon dactylon (L.) Pers.) ออยปาหรือแขม (Saccharum spontaneum) หญาตีนนก (Eleusine indica (L.)) หญาเจาชู (Chrysopogon aciculatus) หญ้าคา (Imperata cylindrica (L.)) ผักขมหนาม (Amaranthus spinosus) ตีนตุกแก (Tridac orocumbent (L.)) ไมยราบ กระทืบยอด (Mimosa pudica) หญาละออง (Vernonia cinerea) และแหวหมู (Chromolaena odorata) และวัชพืชบางชนิดเปนวัชพืชที่มีพิษ เชน สาบเสือ (Chromolaena odorata)

ความเสียหายด้านการเพาะปลูก

วัชพืชทำความเสียหายแก่เกษตรกรหลายด้าน คือ ในด้านการเพาะปลูก วัชพืชนับว่า เป็นศัตรูอย่างหนึ่งของพืชปลูก ในปีหนึ่งๆ วัชพืชทำให้รายได้เกษตรกรลดลง เนื่องจากผลิตผลลดลงเป็นจำนวนไม่น้อย ในต่างประเทศได้มีการค้นคว้าวิจัยผลเสียหายอันเนื่องมาจากวัชพืช ปรากฏว่า มีมากกว่าผลเสียหายที่เกิดจากโรคและแมลงรวมกัน และยังมีรายงานจากการวิจัยว่า วัชพืชที่ขึ้นในแปลงพืชปลูก จะทำให้ผลิตผลลดลงถึงร้อยละ 30-35 เนื่องจากวัชพืชเป็นต้นไม้มีชีวิตเช่นเดียวกับพืชปลูก ย่อมต้องการปุ๋ย น้ำ แสงสว่าง เพื่อการเจริญเติบโตเช่นเดียวกัน ดังนั้น เมื่อวัชพืชมาแบ่งสิ่งเหล่านี้จากพืชปลูก ย่อมทำให้พืชปลูกได้ปุ๋ยและน้ำน้อยลง ไม่เจริญเติบโต ทำให้ผลิตผลไม่สมบูรณ์ นอกจากนี้แล้ว วัชพืชยังเป็นที่อาศัยของโรคและแมลงอีกด้วย วัชพืชในแปลงยังเป็นพืชอาศัยของแมลงที่เป็นพาหะของเชื้อไวรัส อันเป็นต้นเหตุให้เกิดโรคพืชได้อีกด้วย คำแนะนำ คือ ให้เกษตรกรป้องกันโดยหมั่นตรวจแปลง อย่าปล่อยให้วัชพืชขึ้นรกรุงรัง เชื้อราบางชนิดที่ทำให้เกิดโรคกับพืชต้องอาศัยพืชปลูกระยะหนึ่ง และอาศัยวัชพืชอยู่อีกระยะหนึ่ง จึงจะครบวงจรชีวิต (life cycle) วัชพืชบางชนิดสร้างสารมีพิษลงสู่ดิน สารนี้จะไปทำอันตรายต่อพืชปลูก โดยชะงักการเจริญเติบโต ทำให้พืชปลูกแคระแกร็น นอกจากนี้หากปล่อยให้วัชพืชขึ้นรกในพื้นที่ทำการเพาะปลูกแล้ว ที่นั้นจะเป็นที่อยู่อาศัยของบรรดาสัตว์หลายชนิดที่กินพืชปลูกเป็นอาหาร เช่น นก หนู ตุ่น เป็นต้น

ความเสียหายทางดานการเกษตร

1) ทําใหคุณภาพและปริมาณของผลผลิตลดลง วัชพืชแย่งน้ํา อาหาร แสงสวาง สาหร่ายไฟในนาขาว

2) เป็นแหล่งสะสมแพร่ขยายของโรค แมลง ศัตรูพืช ทั้งในฤดูและนอกฤดูปลูก โรค-ราสนิม โรคใบจุด ตั๊กแตนปาทังกา เพลี้ยต่างๆ

3) วัชพืชทําใหการเก็บเกี่ยวผลผลิตกระทําไดลําบาก หญาโขยง ในไรขาวโพด หญ้าคา ในสวนยางพารา หญาขาวนก ในนาขาว

4) วัชพืชทําใหการปฏิบัติงานของเครื่องจักรไม่สะดวกการเตรียมแปลงปลูกพืชเมื่อมีกกสามเหลี่ยม

5) การแย่งดูดกินอาหารจากพืชปลูก กาฝากมะม่วง กาฝากสม ฝอยทอง

6) ทําใหมนุษย์เกิดอาการแพ้หญ้าขจรจบ หญ้าโขยง ในพืชไร สาหร่ายไฟในนาขาว ตนตําแยในสวนผลไม

7) ทําใหการเขาไปปฏิบัติงานในแปลงไมสะดวก การใหน้ํา การใสปุย การฉีดพ่นสารเคมี

ความเสียหายด้านการเลี้ยงสัตว์

วัชพืชมักขึ้นปะปนในทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ บางชนิดมีสารเป็นพิษ เมื่อสัตว์กินแล้วจะทำให้ตาย หรือร่างกายไม่เจริญเติบโต ทำให้ผลิตผลด้านปศุสัตว์ลดลง เช่น หญ้าจอห์นสัน (johnson grass) ควายกินแล้วตายได้ หรือวัชพืชบางชนิด เมื่อวัวกินแล้ว ทำให้นมวัวที่ได้นั้นมีกลิ่นผิดไปจากธรรมชาติ

วัชพืชที่สัตวกินเข้าไปแลวเปนโรค : แพงพวย สัตวเปนโรค scouring, เฟรน (bracken fern) สัตว์เปนโรค haemorphages, หญาตีนกา มีสารพิษ cyanide ทําใหสัตวมีอาการกล้ามเนื้อสั่น หายใจลึก

ความเสียหายด้านป่าไม้

วัชพืชส่งผลเสียหายต่ออุตสาหกรรมป่าไม้ โดยเฉพาะที่เป็นป่าปลูก เช่น สวนสัก สวนสน หรือแปลงกล้าป่าไม้ ในป่าปลูกเช่นนี้ ย่อมมีวัชพืชรบกวน โดยแย่งปุ๋ย น้ำ และแสงสว่าง วัชพืชบางชนิด เป็นพืชอาศัยขึ้นตามรากไม้ที่ปลูก ทำให้ไม้ปลูกไว้เติบโตช้า

ความเสียหายทางดานปาไม พอสรุปได้ดังนี้

1) วัชพืชเป็นสาเหตุที่ทําใหการปลูกปาทดแทนไมสําเร็จ

2) ตนกล้าไมไม่สามารถเจริญแข่งขันกับวัชพืช

3) ในหน้าแล้งเป็นเชื้อเพลิงเกิดไฟไหมปา

ความเสียหายด้านประมง

แม้วัชพืชน้ำจะให้คุณแก่สัตว์น้ำ กล่าวคือ เป็นที่อาศัยวางไข่ ให้ร่วมเงาทำให้น้ำสะอาด แต่ปริมาณวัชพืชน้ำต้องมีพอสมควร หากมีมากไปทำให้บ่อน้ำตื้นเขิน เนื้อที่น้อยลง กีดขวางการจับสัตว์น้ำ พืชน้ำบางชนิด เช่น สาหร่าย ข้าวเหนียว จับปลาเล็กๆ เป็นอาหาร ทำให้ปริมาณปลาลดลง หากวัชพืชน้ำขึ้นหนาแน่น แสงไม่พอการสร้างอาหารของพืชก็จะลดลง ก๊าซออกซิเจนซึ่งเป็นผลที่ได้จากการสร้างอาหารก็ลดลงด้วย ทำให้สัตว์น้ำตาย นอกจากนี้ ยังลดปริมาณอาหารเบื้องต้นของสัตว์น้ำ เช่น พวกไรน้ำ (plankton) ทั้งนี้เพราะพวกวัชพืชแย่งอาหารพวกฟอสเฟต ซึ่งพวกไรน้ำต้องการเช่นกัน

ความเสียหายทางดานการประมง พอสรุปได้ดังนี้

1) ทําใหแหล่งน้ําตื้นเขิน วัชพืชน้ําที่ตายตกตะกอนและทับถม

2) ทําใหสัตวน้ําขาดออกซิเจนในการหายใจ แหล่งน้ําที่มีผักตบชวาขึ้นหนาแนน ปลาอาจตายได

3) วัชพืชน้ำเปนที่อยูอาศัยของสัตวอื่นๆ ที่กินสัตวน้ําเปนอาหาร งูกินปลา

4) จับสัตวน้ําอย่างไมมีประสิทธิภาพ จับไดไม่หมด

5) เกิดน้ำเสีย

ความเสียหายด้านคมนาคม

วัชพืชที่ขึ้นตามอ่างเก็บน้ำ น้ำจะระเหยออกทางลำต้น ใบ ทำให้น้ำในอ่างเก็บน้ำมีปริมาณลดลง นอกจากนั้น ยังทำให้คูส่งน้ำตื้นเขิน ประสิทธิภาพในการส่งน้ำลดลง ท่อระบายน้ำอุดตัน ทำให้เสียค่าแรงงานขุดลอกคันคูน้ำ และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการกำจัดวัชพืช เช่น หลังจากสร้างเขื่อนภูมิพลเสร็จ แล้วมีการกักน้ำ พื้นที่ตอนบนของเขื่อน น้ำจะท่วมเป็นบริเวณกว้าง ผักตบชวาตามหมู่บ้านที่น้ำท่วมถึงมารวมกันในอ่างเก็บน้ำ และขยายพันธุ์จนเต็มอ่างตอนเหนือเขื่อน ทำให้กรมชลประทานต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการกำจัดผักตบชวา

วัชพืชที่ขึ้นตามอ่างเก็บน้ำ แม่น้ำ ลำคลอง ยังมีผลกระทบ ได่แก่

1) อางเก็บน้ําตื้นเขิน

2) เก็บน้ําไดนอยลง

3) สงน้ําไปตามคลองชลประทานไม่สะดวก ไมยราบยักษ์ ผักตบชวา

ความเสียหายด้านสาธารณสุขและอื่นๆ

ปญหาด้านสาธารณสุข

1) ผักตบชวา เปนพืชอาศัยของเชื้อโรคเทาชาง

2) บริเวณที่มีวัชพืชและน้ําขัง เป็นแหลงเพาะพันธุยุงลาย

ปญหาด้านการพาณิชย์

1) วัชพืชกําหนดราคาผลิตผล ในสภาพแปลงปลูกและผลผลิต

2) เมล็ดวัชพืชปะปนไปกับผลิตผล ทําใหราคาตก เช่น เมล็ดข้าวเปลือกที่มีเมล็ดหญาขาวนกปะปน

3) การมีวัชพืชในแปลงปลูกส่งผลต่อคุณภาพผลผลิตหรือเป็นสิ่งเจือปนในพืชเศรษฐกิจ สงขายตางประเทศไมได

ปญหาด้านการขนสง

1) การขนสงทางน้ํา : ผักตบชวา หญ้าพง

2) การขนส่งทางบก : หญ้าขจรจบ สาบเสือ หญ้าพง หญ้าคา

ประโยชนของวัชพืช แมวาวัชพืชมักจะกอใหเกิดความเสียหายใหแกมนุษยเปนสวนใหญก็ตาม แตก็ยังมีวัชพืชอยูอีก หลายชนิดที่เปนประโยชนตอมนุษยในลักษณะตางๆ ดังนี้

1) วัชพืชบางชนิดใช้เปนอาหารไดทั้งของมนุษยและสัตวเลี้ยง

2) วัชพืชหลายชนิดใชเปนสมุนไพรในการรักษาโรคของมนุษยและสัตวเลี้ยง

3) ชวยการอนุรักษดิน เชน ใชทําปุย ทั้งปุยหมักและปุยพืชสด ใชเปนพืช-

คลุมดินเพื่อปองกัน การพังทลายของหนาดิน เปนตน

4) วัชพืชบางชนิดใชทําวัสดุเกี่ยวกับที่อยูอาศัย

5) ใชเปนวัตถุดิบสําหรับงานอุตสาหกรรมบางประเภท

6) ชวยในการรักษาสภาพแวดลอมบางประการ

3.2 การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างวัชพืชกับพืชปลูก (WEED-CROP COMPETITION)

การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างวัชพืชกับพืชปลูก จัดเป็นการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างวัชพืชต่างชนิด (interspecific competition) ซึ่งตรงกันข้ามกับการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างพืชชนิดเดียวกัน (intraspecific competition) โดยปกติความรุนแรงของการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างพืชต่างชนิดจะน้อยกว่าการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างพืชชนิดเดียวกัน เพราะพืชต่างชนิดกันจะมีความต้องการปัจจัยเพื่อการเจริญเติบโตแตกต่างกันไม่มากก็น้อย ในขณะที่พืชชนิดเดียวกันจะมีความต้องการปัจจัยเพื่อการเจริญเติบโต ที่เหมือนกัน

ตัวอย่างของการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างพืชชนิดเดียวกันในสังคมพืช เช่น พืชป่าหรือวัชพืชชนิดเดียวกันที่ขึ้นเป็นกลุ่มๆ หรือเป็นบริเวณกว้าง หรือพืชปลูกในเขตหรือพื้นที่เพาะปลูกโดยทั่วไป ซึ่งทำการเพาะปลูกพืชเพียงชนิดเดียวในช่วงระยะเวลาหนึ่ง (sole crop or monoculture) โดยไม่มีวัชพืชขึ้นรบกวน

แม้ว่าการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างพืชชนิดเดียวกัน เช่น ในกรณีพืชปลูกโดยทั่วๆ ไปจะเป็นการแก่งแย่งแข่งขันที่มีความรุนแรง แต่ในการเพาะปลูกพืชชนิดใดชนิดหนึ่งนั้น ได้มีการเว้นระยะระหว่างแถวและระหว่างต้น หรือที่เรียกว่า ระยะปลูก ให้มีความพอเหมาะ เพื่อมิให้เกิดการแก่งแย่งแข่งขัน หรือแก่งแย่งแข่งขันกันน้อยที่สุด โดยยึดถือความเหมาะสมของการให้ผลผลิตเป็นหลัก ซึ่งระยะปลูกที่เหมาะสมนี้เกิดขึ้นจากการสังเกตุและการศึกษาเป็นเวลายาวนาน และระยะปลูกพืชชนิดต่างๆ จะแตกต่างกันไป ตามชนิด พันธุ์ วัตถุประสงค์ของการปลูก และสภาพแวดล้อมของแหล่งปลูกนั้นๆ เพราะฉะนั้นในเชิงปฏิบัติทางการเกษตร การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างพืชชนิดเดียวกันในสังคมพืชปลูก (crop community) จึงไม่เป็นประเด็นปัญหาที่สำคัญ ปัญหาที่สำคัญอยู่ที่การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างพืชต่างชนิดคือวัชพืชกับพืชปลูก เพราะการแก่งแย่งแข่งขันในลักษณะดังกล่าวนี้ จะทำให้ปัจจัยเพื่อการ เจริญเติบโตซึ่งจะเป็นประโยชน์กับพืชปลูกถูกทำให้ลดน้อยลงโดยวัชพืชซึ่งเป็นตัวแก่งแย่ง

หลักทางนิเวศน์วิทยาของพืชปลูกชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะพืชไร่หรือพืชล้มลุก การทำให้เกิดสภาพปราศจากการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างชนิด (one niche-one species) หรือ Competitive Exclusion Principles จะเป็นแนวทางให้ได้ผลผลิตพืชปลูกชนิดนั้นๆ สูงสุด แต่โดยสภาพของการเพาะปลูกโดยทั่วไป ในบริเวณที่ทำการเพาะปลูกพืชจะมีวัชพืชขึ้นมารบกวนอยู่ด้วยเสมอ การทำให้มีสภาพปลอดวัชพืช คือไม่ให้มีวัชพืชขึ้นมารบกวนเลย สามารถจะกระทำได้โดยใช้วิธีการต่างๆ หลายวิธีแต่การจะใช้วิธีใดๆ มาควบคุมกำจัดวัชพืชนั้น เกษตรกรต้องคำนึงถึงผลได้ผลเสียในหลายๆ ด้านโดยเฉพาะความคุ้มค่าของการลงทุน หรือความสะดวกในการเข้าไปควบคุมกำจัด จึงมักปรากฎอยู่เสมอว่า เกษตรกรส่วนใหญ่โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาจะสามารถกำจัดวัชพืชได้เพียงบางส่วน หรือบ่อยครั้งที่ไม่ได้มีการกำจัดวัชพืชเลย ซึ่งภายใต้สภาพเช่นนี้จะเกิดการแก่งแย่งแข่งขันเพื่อปัจจัยสำหรับการเจริญเติบโตระหว่างวัชพืชกับพืชปลูก ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ ธาตุอาหาร ความชื้น แสง และคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ซึ่งความรุนแรงของการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างวัชพืชกับพืชปลูกเพื่อปัจจัยเหล่านี้ จะขึ้นกับปัจจัยอื่นๆ หลายอย่าง เช่น ปริมาณของปัจจัยเหล่านี้ที่พืชจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ (availability) ตลอดทั้งลักษณะและคุณสมบัติทางด้านสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา และการปรับตัวของวัชพืชและพืชปลูก นอกจากนี้ ศักยภาพของการแก่งแย่งแข่งขันซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดเรียงตัวและการปรากฎของวัชพืชและพืชปลูกในด้าน กาละ (time) และ เทศะ (space) ก็เป็นปัจจัยที่สำคัญที่ส่งผลกระทบถึงปริมาณและคุณภาพของผลผลิตพืชปลูก

การแก่งแย่งแข่งขันเพื่อปัจจัยสำหรับการเจริญเติบโต (Competition for Growth Factors) มีดังนี้

1) ธาตุอาหาร (nutrients) โดยทั่วไปวัชพืชจะดูดธาตุอาหารได้เร็วกว่าและในปริมาณที่มากกว่าพืชปลูก โดยเฉพาะพืชปลูกที่เป็นพืชล้มลุก ธาตุอาหารที่วัชพืชและพืชปลูกแก่งแย่งกันมาก คือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซี่ยม โดยเฉพาะในพืชปลูกที่ไม่ใช่พืชตระกูลถั่วนั้น การแก่งแย่งแข่งขันเพื่อธาตุไนโตรเจนจะรุนแรงกว่าการแก่งแย่งแข่งขันเพื่อธาตุอื่นๆ ในพืชปลูกที่เป็นพืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ถั่วเขียว หรือถั่วที่เป็นพืชผักต่างๆ จะมีการตรึงไนโตรเจนจากอากาศโดยปม (nodule) ที่ราก ไนโตรเจนที่ตรึงไว้ได้นี้จะถูกนำไปใช้ โดยตรงวัชพืชไม่สามารถจะแก่งแย่งได้ ส่วนธาตุฟอสฟอร์ส และโปแตสเซี่ยม เป็นธาตุที่พืชทุกชนิดดูดใช้จากดินโดยตรงและโดยเฉพาะวัชพืชส่วนใหญ่ ไม่ว่าในเขตร้อนหรือเขตหนาว มีความต้องการธาตุฟอสฟอรัส มากกว่าธาตุโปแตสเซี่ยม จึงย่อมจะแข่งขันเพื่อธาตุฟอสฟอรัสกับพืชปลูกมากกว่าจะแข่งขันเพื่อธาตุโปแตสเซี่ยม การแข่งขันกันในการดูดซึมธาตุฟอสฟอรัสจากดินระหว่างวัชพืชกับพืชปลูก จะขึ้นอยู่กับชนิดและอายุของวัชพืชและพืชปลูกในสังคมนั้นๆ สังเกตพบว่า ถั่วลันเตา (Phaseolus vulgaris L.) ดูดซับธาตุฟอสฟอรัสได้น้อยกว่าวัชพืชจำพวกผักโขม (Amaranthus spp.) และหญ้าหางจิ้งจอก (Setaria viridis) ทั้งนี้เพราะรากของผักโขมแผ่ได้กว้างกว่า และรากของหญ้าหางจิ้งจอกหยั่งได้ลึกกว่ารากของถั่วลันเตา ในส่วนที่เกี่ยวกับอายุนั้น สามารถสรุปได้ว่าวัชพืชที่มีอายุน้อยจะแก่งแย่งธาตุอาหารกับพืชปลูกได้มากกว่าวัชพืชที่มีอายุมากทั้งนี้เพราะวัชพืชที่มีอายุน้อยอยู่ในระยะที่ต้องการธาตุอาหารเป็นจำนวนมากเพื่อเสริมสร้างการเจริญเติบโตจากความแตกต่างด้านการตอบสนองต่อธาตุอาหารของพืชปลูกและวัชพืชนี้เอง ทำให้มีข้อสงสัยว่าการให้ปุ๋ยกับพืชปลูกในสภาพที่มีวัชพืชขึ้นรบกวน จะมีผลดีผลเสียต่อพืชปลูกมากน้อยเพียงใด การทดลองให้ปุ๋ยกับ flax (Linum usitatissimum L.) ซึ่งมีวัชพืชจำพวก buckwheat (Polygonum convolvulus L.) ขึ้นปะปนอยู่ด้วย ก็พบว่าวัชพืชชนิดนี้สามารถดูดซึมปุ๋ยได้ดีกว่าต้น flax ทำให้การแก่งแย่งแข่งขันในด้านการเจริญเติบโตของต้น flax กับวัชพืชชนิดนี้เป็นไปอย่าง รุนแรงยิ่งขึ้น และไม่เกิดผลดีต่อการเพิ่มผลผลิตอย่างใด ในสภาพการปลูกไม้ยืนต้น หากไม่มีการกำจัดวัชพืชรอบๆ โคนต้นให้ดี การใส่ปุ๋ยรอบๆ โคนต้น จะไปช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตของวัชพืช เพราะวัชพืชมีระบบรากตื้น สามารถดูดซึมปุ๋ยที่ผิวดินได้ดีกว่าพืชยืนต้นซึ่งมีระบบรากลึก โดยทั่วไปก่อนการใส่ปุ๋ยให้กับพืชยืนต้นจึงมักจะต้องถางบริเวณรอบโคนต้นที่จะใส่ปุ๋ยให้เตียน เพื่อที่ปุ๋ยที่ใส่ลงไปจะได้เกิดประโยชน์กับพืชปลูกสูงสุด

2) ความชื้น (moisture) เป็นปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชตลอดชั่วอายุขัย ความชื้นนอกจากจะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของเซลล์แล้ว ยังมีความสำคัญในด้านการดูดซึมและการเคลื่อนย้ายธาตุอาหารตลอดทั้งการสังเคราะห์แสงเพื่อสร้างพลังงานในพืช การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างวัชพืชกับพืชปลูกเพื่อปัจจัยด้านความชื้นจะเป็นการแก่งแย่งแข่งขันในระดับใต้ดิน โดยที่ความรุนแรงจะแตกต่างกันไปตามระดับของความชื้นในดินและตามชนิดของวัชพืชและพืชปลูกในสังคมนั้นๆ ในสภาพที่ความชื้นในดินต่ำ วัชพืชและพืชปลูกจะแข่งขันกันดูดน้ำ หากวัชพืชมีประสิทธิภาพในการดูดน้ำดีกว่าพืชปลูก กล่าวคืออาจมีระบบรากลึกว่า หรือมีปริมาณรากต่อพื้นที่มากกว่า การแข่งขันที่วัชพืชมีต่อพืชปลูกจะเป็นไปอย่างรุนแรงและวัชพืชจะเป็นผู้ชนะ ทำให้ผลผลิตของพืชปลูกลดลงในที่สุด ในกรณีที่ความชื้นในดินมีอย่างพอเพียงหรือเกินพอ พืชที่ชอบความชื้นหรือมีการเจริญเติบโตอยู่ในระยะที่ต้องการน้ำเพื่อใช้ในขบวนการต่างๆ เป็นอย่างมาก จะได้เปรียบ ซึ่งหากพืชที่ได้เปรียบเป็นพืชปลูกก็จะเป็นผลดี แต่หากพืชที่ได้เปรียบเป็น วัชพืชผลเสียก็จะเกิดขึ้น

3) แสงและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (light and carbon dioxide) นอกจากธาตุอาหารและน้ำแล้ว แสงและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ก็เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อผลิตภาพ (productivity) ของสังคมพืช โดยเฉพาะน้ำ แสง และคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ นั้นเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการสังเคราะห์แสงของพืช

ชนิดและลักษณะการเจริญเติบโต (growth form) ของวัชพืชและพืชปลูกจะเป็นปัจจัยที่สำคัญที่บ่งชี้ถึงความรุนแรงของการแก่งแย่งแข่งขัน พืชที่มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่จะรับแสงได้ดี และ มีลักษณะทางสรีรวิทยาที่จะใช้แสงในกระบวนการสังเคราะห์แสงได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะเป็นพืชที่ได้เปรียบในสังคมที่พืชนั้นขึ้นอยู่ พบว่า ผลผลิตของถั่วเหลืองจะลดลงมากกว่าผลผลิตของข้าวโพด เมื่อพืชปลูกทั้ง 2 ชนิด นี้ขึ้นในสภาพที่แก่งแย่งแข่งขันกับผักโขม ทั้งนี้เพราะ ข้าวโพดมีลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่สูงกว่าผักโขม ทำให้รับแสงได้ดีกว่า ในขณะที่ถั่วเหลืองซึ่งมีทรงต้นเตี้ยกว่าผักโขม จะถูกผักโขมบดบังแสง เป็นผลให้กิจกรรมด้านการสังเคราะห์แสงลดน้อยลง นอกจากนี้ ยังพบด้วยว่า การบดบังแสงโดยวัชพืชในช่วงที่ถั่วเหลืองกำลังออกดอกจะทำให้ เกิดการลีบของเมล็ดสูงขึ้น โดยทั่วๆ ไป พืชปลูกที่แข่งขันเพื่อแย่งแสงแดดกับวัชพืช จะมีกิ่งก้านน้อย ปล้องยาว ลำต้นสูง ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการล้ม (lodging) ได้ง่าย ทำให้ผลผลิตตกต่ำไปด้วย การเกิดปล้องยาว และลำต้นสูงนี้เกิดจากการกระตุ้นของแสงในช่วง far-red ซึ่งมีอยู่มากมายภายใต้ทรงพุ่มใบที่หนาแน่นในสังคมพืช

ในกรณีของคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ได้สังเกตการเปลี่ยนแปลงปริมาณของคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ภายใต้ทรงพุ่มของข้าวโพดและถั่วเหลือง ในช่วงระยะต่างๆ ของวัน พบว่าสภาพลมสงบนิ่งและความเข้มข้นของแสงสูง ซึ่งการสังเคราะห์แสงก็จะสูงด้วย จะทำให้ความเข้มข้นของคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ลดลง การแก่งแย่งแข่งขันเพื่อคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ระหว่างวัชพืชกับพืชปลูกอาจจะเกิดขึ้นได้ภายใต้สภาพที่ทรงพุ่ม (canopy) ของวัชพืชและพืชปลูกหนามาก และความเข้มข้นของคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ลดลงต่ำกว่าระดับ compensation point ของพืชที่มีอัตราการสังเคราะห์แสงต่ำ เช่น พืช C3 ทั้งหลายความสำคัญของแสงและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ในการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างวัชพืชกับพืชปลูกที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งในปัจจุบัน คือ การที่ปัจจัยทั้งสองนี้มีอิทธิพลต่อขบวนการทางชีวเคมีของมีผลให้เกิดความแตกต่างในด้านการเจริญเติบโตของวัชพืชและพืชปลูกทำให้ความรุนแรงของการแก่งแย่งแข่งขันเปลี่ยนแปลงไปด้วย ซึ่งพืช C4 ซึ่งดูดคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ได้สูงในสภาพแสงแดดจัด อุณหภูมิ (20-400 C) และมีความชื้นพอเหมาะจะเป็นพืชที่ได้เปรียบในการแก่งแย่งแข่งขัน คือ อาจเป็นพืชปลูกที่ได้เปรียบวัชพืชหรือเป็นวัชพืชที่เป็นศัตรูพืชอย่างรุนแรง พืช C3 โดยทั่วไปจะมีจุดอิ่มตัวของแสง (light saturation) ต่ำ ทำให้เป็นพืชที่ค่อนข้างจะเสียเปรียบ เพราะโดยปกติความเข้มของแสงและอุณหภูมิในช่วงฤดูปลูกจะค่อนข้างสูง ซึ่งจะเป็นผลดีกับพืช C4 สรุปว่าการแข่งขันของวัชพืชต่อพืชปลูกจะมีความรุนแรงหากวัชพืชพวก C4 เช่น ผักโขม หรือวัชพืชจำพวกหญ้าทั้งหลาย ขึ้นปะปนและแก่งแย่งแข่งขันกับพืชปลูกพวก C3 เช่น ถั่วเหลืองและฝ้าย

กล่าวโดยสรุปการแก่งแย่งแข่งขันเพื่อปัจจัยสำหรับการเจริญเติบโต ระหว่างวัชพืชกับพืชปลูกมิได้เกิดขึ้นกับปัจจัยหนึ่งอย่างเป็นอิสระต่อกัน การแก่งแย่งแข่งขันเพื่อปัจจัยใดๆ จนทำให้ปัจจัยนั้นๆ เกิดสภาพขาดแคลน หรืออาจจะเกิดความขาดแคลนเพราะสาเหตุอื่นๆ จะไปมีผลกระทบกับการใช้ประโยชน์ปัจจัยอื่นๆ ของพืช ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่เกิดการขาดแคลนน้ำ การดูดซึมธาตุอาหารและการถ่ายเทคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ที่จะลดลงทำให้ขบวนการสังเคราะห์แสงลดลงไปด้วย การบดบังแสงของวัชพืชต่อพืชปลูกก็มีผลทำให้ขบวนการสังเคราะห์แสงลดลง เช่นกัน การลดลงของขบวนการสังเคราะห์แสงจะทำให้พืชปลูกลดการเจริญเติบโตของระบบรากและลำต้นลง มีผลทำให้สมรรถนะในการดูดและเคลื่อนย้ายน้ำและธาตุอาหารของรากและลำต้นลดลงด้วย

ศักยภาพในการแก่งแย่งแข่งขัน (Competitive Potential) หมายถึง การที่วัชพืชหรือพืชปลูก ซึ่งมีลักษณะทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา และการปรับตัวที่คงที่แล้ว ในสังคมพืช หรือระบบนิเวศน์หนึ่งๆ จะแสดงออกถึงความได้เปรียบเสียเปรียบในการแก่งแย่งแข่งขัน ศักยภาพในการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างวัชพืชกับพืชปลูก จะเกี่ยวพันโดยตรงกับความหนาแน่น การแพร่กระจาย และระยะเวลาที่ปรากฏขึ้นของวัชพืชและพืชปลูกในสังคมพืชนั้นๆ (รูปที่ 3.5) ความหนาแน่นและระยะเวลาการปรากฎขึ้นของวัชพืชและพืชปลูกว่า เป็นการจัดเรียงตัวของวัชพืชและพืชปลูกในด้านเทศะ (space) และ กาละ (time) การจัดเรียงตัวของพืชในด้านเทศะ มีความหมายถึง ระยะปลูก (row spacing) และอัตราปลูก (seeding rate) ของพืชปลูก และความหนาแน่น (density) และตำแหน่ง (position) ของวัชพืช ส่วนการจัดเรียงตัวในด้านกาละ มีความหมายถึง วันปลูกพืช (planting date) การปลูกพืชหมุนเวียน (crop rotation) ระยะเวลาที่ให้มีวัชพืชขึ้นแข่งขัน (weed competition duration) และระยะเวลาที่ให้มีสภาพปลอดวัชพืช (weed-free duration)

ศักยภาพของการแก่งแย่งแข่งขันที่เกี่ยวข้องกับความหนาแน่นของวัชพืช ระยะเวลาที่ให้มีวัชพืชขึ้นแก่งแย่งแข่งขันและระยะเวลาที่ให้มีสภาพปลอดวัชพืชเท่านั้น เพราะลักษณะทั้ง 3 ประการนี้จะมีความสำคัญยิ่งต่อการกำหนดกลยุทธ์ (strategies) ต่างๆ ในการป้องกันกำจัดวัชพืช โดยเฉพาะในพืชปลูกที่เป็นพืชล้มลุก ซึ่งสรุปรายละเอียดมีดังนี้

1) ความหนาแน่นของวัชพืช (weed density) โดยสภาพทั่วไป ผลผลิตของพืชปลูกจะลดลงเมื่อความหนาแน่นของวัชพืชเพิ่มขึ้น ดังแสดงในรูปที่ 3.6 การตอบสนองในเชิงลบของผลิตต่อความหนาแน่นของวัชพืชที่ เพิ่มขึ้นเช่นนี้ อาจมีความสัมพันธ์เชิงลบเป็นเส้นตรง (linear) หรือเส้นโค้ง (curvilinear) ขึ้นกับสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่งความชื้นในช่วงฤดูปลูก ชนิดพืชปลูก และชนิดวัชพืช

การลดลงของผลผลิตโดยที่วัชพืชมีความหนาแน่นต่างกันนี้ จะมีช่วงหนึ่งที่ลดถึงภาวะวิกฤต (critical reduction) คือ ลดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจะมีผลกระทบไปถึงรายได้ของเกษตรกร จุดวิกฤตนี้เรียกว่า threshold level คือ เป็นระดับความหนาแน่นของวัชพืชที่ถือว่าสูงสุดที่จะอนุโลมหรือ ปล่อยให้มีในแปลงได้ หากวัชพืชมีความหนาแน่นมากกว่านี้จะถือว่าผลผลิตที่ได้อยู่ในระดับต่ำไม่เป็นที่น่าพอใจ threshold level จะแตกต่างกัน ขึ้นกับชนิดของพืชปลูก ชนิดของวัชพืช และสภาพสิ่งแวดล้อมของบริเวณที่ทำการเพาะปลูก ข้อมูลจาก threshold level จะเป็นตัวช่วยให้ตัดสินใจว่าวัชพืชที่ขึ้นในแปลงปลูกนั้นมีปริมาณมากน้อยและมีความจำเป็นต้องกำจัดหรือไม่ ในสังคมพืช (plant community) ที่มีวัชพืชและพืชปลูกขึ้นอยู่ด้วยกัน (weed-crop community) หากพืชปลูกมีลักษณะอ่อนแอกว่า เช่น มีต้นเตี้ยกว่า หรือ มีอัตราการเจริญเติบโตน้อยกว่าวัชพืช หรืออีกนัยหนึ่งวัชพืชมีลักษณะแข็งแรง (robust) หรือก้าวร้าว (aggressive) กว่าพืชปลูก ค่า threshold จะต่ำ กล่าวคือ ผลผลิตของพืชปลูกจะลดลงถึง จุดวิกฤต แม้ว่าจะมีวัชพืชอยู่เพียงไม่กี่ต้นในหน่วยพื้นที่นั้นๆ ในทางตรงกันข้าม ค่า threshold จะสูงหากพืชปลูกแข็งแรงกว่าหรือมีลักษณะก้าวร้าวกว่าวัชพืช

2) ระยะเวลาที่ปล่อยให้มีวัชพืชรบกวน (weed infatuation period)

การปล่อยให้วัชพืชงอกขึ้นมาพร้อมๆ กับพืชปลูกแล้วปล่อยให้เจริญเติบโตแข่งขันกันจะทำให้ผลผลิตของพืชปลูกลดลงได้ แต่จะลดลงมากน้อยแค่ไหนขึ้นกับระยะเวลาที่ปล่อยให้แก่งแย่งแข่งขันกัน

หากปล่อยให้มีการแก่งแย่งแข่งขันกันนานขึ้น ผลผลิตก็จะลดน้อยลงเป็นสัดส่วนกัน ระยะเวลาแก่งแย่งแข่งขันที่ทำให้ผลผลิตลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เรียกว่า ระยะแข่งขันวิกฤต (critical competition period) ซึ่งระยะวิกฤตนี้จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดพืชปลูก ชนิดวัชพืช และสภาพแวดล้อม และการตอบสนองอาจเกิดได้ทั้งในลักษณะเส้นตรง และเส้นโค้ง ดังเช่นในเรื่องของความหนาแน่น ข้อมูลเกี่ยวกับระยะ แข่งขันวิกฤตนี้จะเป็นประโยชน์ในด้านการกำจัดวัชพืชหลังงอก ไม่ว่าจะโดยวิธีใช้จอบถากหรือโดยวิธีใช้สารกำจัดวัชพืชแบบหลังงอก (post-emergence)

3) ระยะเวลาที่มีสภาพปลอดวัชพืช (weed free period)

การกำจัดวัชพืชตั้งแต่ต้นฤดูปลูกนับว่าเป็นการช่วยให้พืชปลูกงอก ตั้งตัว และเจริญเติบโตได้ดีโดยไม่มีวัชพืชแก่งแย่งแข่งขัน อย่างไรก็ตาม การกำจัดวัชพืชตลอดฤดูปลูก บางกรณีอาจไม่จำเป็น เพราะการกระทำดังกล่าวอาจไม่คุ้มการลงทุน และเป็นการทำเกินความจำเป็น การให้มีสภาพปลอดวัชพืชหลังการปลูกเป็นเวลานานจะทำให้ผลผลิตของพืชปลูกเพิ่มขึ้น (รูปที่ 3.8) ซึ่งตรงกันข้ามกับการปล่อยให้มีสภาพปลอดวัชพืชเพียงระยะสั้นๆ หลังจากปลูกจะทำให้ผลผลิตลดลง เพราะวัชพืชที่ขึ้นมาหลังจากเลิกควบคุมกำจัดจะเป็นตัวไปลดผลผลิต ระยะวิกฤตของการให้มีสภาพปลอดวัชพืชนี้จะแตกต่างกันไปตามชนิดของพืชปลูก ชนิดวัชพืช และสภาพแวดล้อม ข้อมูลของระยะวิกฤตนี้จะช่วยให้เกษตรกรตัดสินใจได้ว่า ควรจะกำจัดวัชพืชอยู่นานแค่ไหนหลังจากปลูก ซึ่งอาจจะโดยใช้จอบถาก หรือใช้สารกำจัดวัชพืชพวกฉีดก่อนงอก (pre-emergence)

ในเรื่องของผลกระทบอันเนื่องมาจากการจัดเรียงตัวด้านกาละ ของวัชพืชนี้ สำหรับพืชเศรษฐกิจในประเทศไทย ได้มีการศึกษาหรือสรุประยะเวลาการแข่งขันวิกฤตไว้บ้างแล้ว คือ สัปปะรด และถั่วเขียวในนาข้าว นอกจากนี้ ระยะวิกฤตของพืชอื่นๆ ไว้ด้วยดังตารางที่ 3-1 ซึ่งระยะวิกฤตนี้เป็นลักษณะการแก่งแย่งแข่งขันกับวัชพืชล้มลุก

 

ตารางที่ 3-1 ระยะเวลาการแข่งขันวิกฤตของพืชเศรษฐกิจบางชนิดหลังจากงอก

 

ชนิดพืช

ระยะเวลาที่ปล่อยให้วัชพืช

ขึ้นรบกวนได้ (สัปดาห์)

ระยะเวลาที่ควรให้มีสภาพปลอดวัชพืช (สัปดาห์)

สับปะรด

12

ตลอด

ถั่วเขียว (ในนาข้าว)

2

3

ข้าวโพด

6

3

ฝ้าย

8

6

ถั่วลิสง

8

4

มันฝรั่ง

9

6

ข้าว

6

3

ถั่วเหลือง

8

3

 

 

 

การจัดการวัชพืช

การจัดการวัชพืชเช่นเดียวกันกับการจัดการโรคและแมลงศัตรูพืช แนวทางการจัดการวัชพืชที่ดี คือ การป้องกันวัชพืชหรือการควบคุม ไม่ใช่การกำจัดวัชพืชด้วยวิธีต่างๆ ซึ่งการป้องกันวัชพืชนั้นต้องให้ความสำคัญกับการจัดระบบการปลูกพืชที่ส่งเสริมให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง อันจะทำให้พืชหลักที่ปลูกสามารถแข่งขันกับวัชพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางจัดการวัชพืชประกอบด้วย 4 แนวทางสำคัญ คือ

(ก) การแข่งขัน ปัญหาหลักสำคัญของวัชพืชในฟาร์มก็คือ การแย่งน้ำและอาหารจากพืชหลัก ดังนั้น แนวทางหลักที่เกษตรกรดำเนินการเป็นสิ่งแรกก็คือ การสร้างเงื่อนไขให้พืชหลักสามารถเจริญเติบโตได้เร็วกว่าวัชพืช อันจะทำให้วัชพืชไม่สามารถแย่งน้ำและอาหารจากพืชหลักได้ และกำจัดหรือลดเงื่อนไขปัจจัยที่ทำให้วัชพืชเจริญเติบโตได้ดี โดยทั่วไปวัชพืชจะเจริญเติบโตได้ดีในที่ดินที่มีปัญหาในการปลูกพืช เช่น ดินที่มีธาตุอาหารต่ำ, ดินอัดแน่น หรือดินที่ระบายน้ำไม่ดี ดังนั้นการปรับปรุงดินให้มีธาตุอาหารครบถ้วนสมดุลและมีโครงสร้างทางกายภาพที่ดีด้วยอินทรีย์วัตถุและปุ๋ยอินทรีย์ประเภทต่างๆ จึงเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง นอกจากนี้ การคัดเลือกพันธุ์พืชปลูกที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในเงื่อนไขของสภาพแวดล้อมท้องถิ่น รวมทั้งการปลูกพืชหลักให้เร็วขึ้นในช่วงต้นฤดูเพาะปลูก จะช่วยทำให้พืชหลักสามารถเจริญเติบโตและตั้งตัวได้เร็วกว่าวัชพืช จึงสามารถแข่งขันกับวัชพืชได้

(ข) การจัดการธาตุอาหาร พืชแต่ละชนิดต้องการธาตุอาหารในปริมาณ สัดส่วน และช่วงเวลาที่แน่นอน การให้ธาตุอาหารพืชบางชนิดมากเกินไป หรือในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม ย่อมทำให้เกิดปัญหามีธาตุอาหารเหลือตกค้าง อันจะทำให้วัชพืชสามารถเจริญเติบโตและขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น ในทางตรงกันข้าม ดินที่มีธาตุอาหารต่ำมาก วัชพืชกลับมีความสามารถในการแย่งธาตุอาหารจากดินได้ดีกว่าพืชที่ปลูก ดังนั้นการบริหารจัดการธาตุอาหารอย่างเหมาะสมจึงเป็นการป้องการวัชพืชที่สำคัญอีกแนวทางหนึ่ง

(ค) การเขตกรรม การเขตกรรมเป็นอีกวิธีหนึ่งในการป้องกันและกำจัดวัชพืช การเตรียมดินด้วยการไถพรวนและการไถกลบก่อนการปลูกพืชที่ถูกต้องช่วยลดปริมาณวัชพืชในฟาร์มได้ในช่วงเริ่มต้นของฤดูเพาะปลูก, การหยอดเมล็ดในระดับความลึกที่เหมาะสม ช่วยทำให้ต้นกล้าพืชเจริญเติบโตได้เร็ว สามารถแข่งขันกับวัชพืชได้, การคลุมดินด้วยอินทรีย์วัตถุต่างๆ หรือการปลูกพืชคลุมดิน ช่วยลดปริมาณวัชพืชในช่วงระหว่างฤดูเพาะปลูก และการจัดการกับเศษซากวัชพืชอย่างถูกต้อง เช่น นำมารวมกันเพื่อใช้ทำปุ๋ยหมัก จะช่วยลดการแพร่ระบาดของวัชพืชลงได้

(ง) การเรียนรู้ที่จะยอมรับต่อวัชพืชในแปลง เช่นเดียวกับโรคและแมลงศัตรูพืช การมีวัชพืชในแปลงปลูกไม่ได้เป็นสิ่งบ่งชี้ถึงปัญหาวัชพืชเสมอไป ตราบใดที่วัชพืชมีปริมาณไม่มากและไม่ได้มีผลกระทบต่อพืชที่ปลูกอย่างมีนัยทางเศรษฐกิจ หรือมีผลระยะยาวต่อการปลูกพืชในรุ่นถัดไป การเรียนรู้ที่จะยอมรับต่อวัชพืชในแปลงเป็นแนวทางหนึ่งของการทำเกษตรอินทรีย์ เพราะวัชพืชเหล่านี้มีส่วนในการสร้างความหลากหลายทางชีวภาพในฟาร์ม อาจเป็นที่อยู่อาศัยของศัตรูธรรมชาติ, อาจเป็นพืชสมุนไพร, อาจเป็นอาหารให้กับเกษตรกร, อาจเป็นอาหารสัตว์ หรือมีประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายในระบบนิเวศธรรมชาติ

4.1 หลักการและวิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช

หลักการการป้องกันกำจัดวัชพืชในประเทศไทย เพื่อไม่ให้นำเข้าวัชพืชเข้ามาในราชอาณาจักร จึงมีมาตรการ ดังนี้

1) พระราชบัญญัติกักกันพืช พ.ศ. 2507

2) วัชพืชเป็นสิ่งของต้องหาม

3) นําเข้าประเทศตองขออนุุญาตก่อน

แต่มักประสบปัญหา คือ ไมคอยไดรับความร่วมมือ

 

หลักในการจัดการวัชพืชประกอบด้วยการป้องกัน (prevention) การควบคุม (control) และการกำจัด (eradication)

การป้องกัน หมายถึง การดำเนินการใดๆ อันเป็นการขัดขวางมิให้วัชพืชซึ่งปรากฏอยู่แล้วในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง เจริญเติบโตสร้างส่วนขยายพันธุ์ (weed propagation) เพิ่มมากขึ้น หรือเป็นการขัดขวางมิให้วัชพืชแพร่กระจายเข้าสู่พื้นที่หรือบริเวณที่ยังไม่เคยมีวัชพืชชนิดนั้นๆ มาก่อน

การควบคุม หมายถึง การดำเนินการใดๆ ที่จะทำให้จำนวนวัชพืช ซึ่งแพร่ระบาดอยู่ในบริเวณพื้นที่นั้นๆ แล้วลดจำนวนลงจนถึงระดับที่ไม่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ส่วนสำคัญของระบบการผลิตพืช ซึ่งในระบบการผลิตทางเกษตรจะเน้นที่พืชปลูกเป็นส่วนใหญ่ ระดับที่ไม่เกิดความเสียหายกับพืชปลูก และอาจนำเอาองค์ประกอบด้านเศรษฐสังคมเข้ามาพิจารณาด้วย

การกำจัด หมายถึง การดำเนินการใดๆ ที่ทำให้วัชพืชหมดไปจากพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งโดยสิ้นเชิง มักจะเน้นกับวัชพืชที่เป็นปัญหาอย่างรุนแรง หรือกับบริเวณที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวัชพืช การกำจัดอาจไม่จำเป็นต้องพิจารณาความคุ้มทุน แต่จะพิจารณาถึงการแก้ปัญหาและหวังผลในระยะยาว

การจัดการวัชพืช (weed management) จะเป็นการนำเอาการป้องกัน การควบคุมและการกำจัดมาใช้ร่วมกัน แต่จะใช้หลักการใดมากหรือน้อยขึ้นกับวัตถุประสงค์และปัญหา โดยทั่วไปการจัดการจะเน้นไปที่การแก้ปัญหามากกว่าการป้องกัน จึงมักใช้คำว่า การควบคุมกำจัด ซึ่งการควบคุมกำจัดวัชพืชสามารถทำได้หลายวิธีและสามารถแบ่งออกได้เป็นวิธีใช้สารเคมีและไม่ใช้สารเคมี การควบคุมกำจัดโดยการใช้สารเคมีเป็นวิธีที่นิยมกันมาก แต่การใช้จำเป็นต้องดำเนินการด้วยความระมัดระวัง และต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีที่จะใช้ตามสมควร ในรายวิชานี้จะกล่าวถึงการควบคุมกำจัดวัชพืช โดยการใช้สารเคมีและการไม่ใช้สารเคมี และการควบคุมกำจัดวัชพืชในพืชเศรษฐกิจบางชนิดและบางสภาพปัญหา โดยสังเขปต่อไป

หลักการป้องกันกำจัดวัชพืช

1) การป้องกัน (prevention) เป็นการป้องกันไม่ให้วัชพืชจากที่อื่นแพร่ระบาดเข้ามาในพื้นที่หนึ่งๆ

2) การควบคุม (control) เป็นการลดผลเสียหายจากวัชพืชที่เกิดแก่พืชปลูกให้มากที่สุด

3) การกำจัด (eradication) เป็นการทำลายให้หมดสิ้น คือ ทำให้ส่วนต่างๆ ของวัชพืชในพื้นที่นั้นหมดสิ้นไป เพื่อป้องกันการแพร่กระจายและขยายพันธุ์

การป้องกัน

ก. ควรใช้เมล็ดพืชปลูกที่ปราศจากเมล็ดวัชพืชปน ปัจจุบันแทบทุกประเทศมีกฎหมายว่าด้วย “มาตรฐานพันธุ์พืช” กฎหมายนี้ตราขึ้น เพื่อช่วยเกษตรกรให้ได้เมล็ดพันธุ์ที่ถูกต้องตามความประสงค์ มีความงอกดี และเมล็ดนั้นมีเมล็ดวัชพืชปนอยู่เป็นจำนวนน้อย ซึ่งไม่ทำความเสียหายให้พืชปลูก นอกจากนี้ ยังให้ผลทางอ้อม คือ เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชจำหน่าย จำเป็นต้องดูแลไร่นาของตนให้สะอาด ปราศจากวัชพืช เพื่อให้ผลิตผลมีคุณภาพดีถูกต้องตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด สำหรับในประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติพันธุ์พืชในปี พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ป้องกันโรคศัตรูพืชและวัชพืชไม่ให้ระบาดเข้ามาในประเทศ กฎหมายทั้งสองฉบับนี้ จะเป็นเครื่องป้องกันการระบาดของวัชพืชเป็นอย่างดี

ข. ควรระมัดระวังการใช้ปุ๋ยคอกและปุ๋ยพืชสด อย่าใช้ปุ๋ยคอกที่ยังใหม่ มิได้ถูกหมักไว้ให้นานพอสมควรแก่เวลา การหมักจะทำลายการงอกของเมล็ดวัชพืชได้ ส่วนปุ๋ยพืชสดควรใช้ขณะพืชนั้นยังไม่มีเมล็ด

ค. ดินที่ใช้ควรปราศจากเมล็ด เหง้า หรือหัววัชพืช เครื่องมือเครื่องใช้ในการเกษตร ควรสะอาดไม่มีส่วนต่างๆ ของวัชพืชหรือเมล็ดวัชพืชติดอยู่

ง. หมั่นดูแลแปลงเพาะปลูก ควรถอนวัชพืชเมื่อยังเป็นต้นอ่อน เพราะรากหยั่งดินยังไม่ลึก ง่ายต่อการถอน และไม่มีการแพร่กระจาย เพราะยังไม่มีเมล็ด

จ. การเลือกเวลาปลูกเป็นการป้องกันวิธีหนึ่ง เมล็ดวัชพืชมักอยู่ตามหน้าดินหรือระดับตื้นๆ เมื่อได้ฝนต้นฤดูการเพาะปลูกพืช เมล็ดเหล่านั้นจะงอกเรา ควรเก็บวัชพืชออกเสียก่อน แล้วจึงปลูกพืชที่ต้องการ แม้การปลูกพืชจะล่าออกไป แต่ก็ช่วยให้ปริมาณวัชพืชลดลง

(http://kanchanapisek.or.th/วัชพืช)

การกำจัดหรือการควบคุม

เมื่อวัชพืชเป็นศัตรูพืชปลูก จำเป็นต้องมีการกำจัดหรือควบคุม เพื่อให้ปริมาณวัชพืชลดลงหรือหมดไป และเพื่อให้การกำจัดหรือควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้จัก และทราบลักษณะทางพฤกษศาสตร์ หรือวงชีพของวัชพืชนั้นๆ เสียก่อน เช่น วัชพืชที่มีหัว และไม่มีหัวต้องเลือกใช้วิธีการกำจัด หรือใช้สารเคมีต่างกัน พืชใบแคบ ซึ่งส่วนใหญ่ หมายถึง หญ้าและกก นอกนั้นเป็นพืชใบกว้าง วัชพืชมีการสนองตอบต่อสารเคมีกำจัดวัชพืชต่างกันด้วย เช่น สารเคมีพวกกรดซัลฟิวริก (sulphuric acid) จะกำจัดพืชใบกว้างชนิดที่เป็นไม้ล้มลุกอายุสั้นได้ ทั้งนี้ เพราะว่าตาหรือยอดอ่อนไม่มีใบหุ้ม สารเคมีจะถูกตา ทำให้ตาหรือยอดอ่อนเสียไป ไม่เจริญเติบโต ส่วนพวกหญ้าและกก ซึ่งเป็นพืชใบแคบ ยอดอ่อนหรือตาถูกหุ้มด้วยกาบใบหลายชั้น สารเคมีเข้าถึงตาหรือยอดอ่อนได้ยากหรือไม่ได้ จึงทำให้การกำจัดวัชพืชเหล่านี้ไม่ได้ผลดี นอกจากนี้แล้ว ยังต้องพิจารณาถึงสภาพแวดล้อม และขนาดเนื้อที่ที่ทำการเพราะปลูกด้วย

การควบคุมวัชพืชมีหลายวิธี ดังนี้

การจัดระบบการปลูกพืช ได้แก่ การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชแซมเป็นการเปลี่ยนสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมต่อการงอกของวัชพืช การปลูกพืชหมุนเวียนทำให้การใช้สารกำจัดวัชพืชแต่ละชนิดหมุนเวียนกัน และทำให้มีปัญหาวัชพืชน้อยลง เพราะพืชแต่ละชนิดมีความต้องการสภาพของดินแตกต่างกัน ชนิดและปริมาณวัชพืชที่พบก็ไม่เหมือนกัน การปลูกพืชแซมในสวนยาง ปาล์มน้ำมัน เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว เลือกพืชแซมปลูกในเวลาที่เหมาะสมโดยไม่กระทบกระเทือนต่อการเจริญเติบโตของพืชหลักเป็นวิธีหนึ่งในการกำจัดวัชพืชที่มีประสิทธิภาพในท้องที่ที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ มีวัชพืชขึ้นหนาแน่น การปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน เช่น Centrosema pubescens จะช่วยตรึงไนโตรเจนจากอากาศ และเมื่อไถกลบลงไปในดินก่อนปลูกพืชจะเพิ่มปุ๋ยไนโตรเจนให้แก่ดิน ถ้าปฏิบัติติดต่อกันนานจะช่วยกำจัดวัชพืชร้ายแรงให้หมดไปได้

เลือกเมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากเมล็ดวัชพืช ก่อนนำเมล็ดพืชไปปลูกต้องแน่ใจว่าเมล็ดพันธุ์ที่ปลูกปราศจากเมล็ดวัชพืช โดยเฉพาะเมล็ดวัชพืชที่ร้ายแรง

ใช้วัสดุคลุมดิน วัสดุที่ใช้คลุมดินอาจจะเป็นพวกเศษพืช ได้แก่ ฟางข้าว แกลบ หญ้าแห้ง ขี้เลื่อย ใบพืช เช่น การใช้ใบอ้อยคลุมวัชพืชในไร่อ้อย การใช้ฟำงข้าวคลุมวัชพืชในแปลงถั่วเหลือง นอกจากนี้อาจจะใช้วัสดุอย่างอื่น เช่น พลาสติก วัสดุคลุมแปลงจะไปบังแสงทำให้วัชพืชงอกไม่ได้หรืองอกได้แต่เจริญเติบโตได้ไม่ดี เพราะมีแสงไม่เพียงพอต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง

การควบคุมระดับน้ำ

การควบคุมระดับน้ำ เป็นวิธีที่สำคัญในการควบคุมวัชพืชในนาข้าว นาหว่านข้าวขึ้นน้ำ ในแถบภาคกลางมีวัชพืชร้ายแรงหลายชนิดถูกน้ำท่วมตาย เช่น หญ้านกสีชมพู ยกเว้นหญ้าแดง ในนาดำพบว่าวัชพืชตระกูลหญ้าส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีปัญหา เนื่องจากไม่สามารถงอกใต้น้ำได้ วัชพืชที่เป็นปัญหาจะเป็นพวกวัชพืชใบกว้างที่งอกใต้น้ำได้รวมทั้งพวกสาหร่าย เช่น ขาเขียด ผักปอดนา ผักตับเต่า สาหร่ายไฟ การเปลี่ยนวิธีการทำนาโดยการเปลี่ยนระดับน้ำในนา จะเป็นวิธีที่ช่วยหลีกเลี่ยงหรือลดการระบาดของวัชพืชที่ร้ายแรงในแต่ละท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี

การควบคุมทางชีวภาพ

การควบคุมทางชีวภาพ โดยการนำศัตรูธรรมชาติของวัชพืชเข้าทำลาย ได้แก่ แมลง โรคพืช ปลา ฯลฯ เป็นวิธีที่ดีวิธีหนึ่งในการกำจัดวัชพืชน้ำ ช่วยให้ปริมาณของวัชพืชน้ำลดลง การกำจัดวัชพืชทางชีวภาพในประเทศไทยยังไม่ค่อยแพร่หลาย อาจเนื่องมาจากขาดศัตรูธรรมชาติที่มากพอที่จะปล่อยให้ทำลายวัชพืช และการค้นคว้าหาสิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูของวัชพืชแต่ละชนิดต้องใช้ระยะเวลานาน และในบางครั้งจำเป็นต้องเลี้ยงขยายพันธุ์ให้มีปริมาณมากเพียงพอที่จะสามารถกำจัดวัชพืชให้ได้ผล พบว่าในประเทศไทยมีการใช้ผีเสื้อหนอนจอก (Episammia pectinicomis) ซึ่งเป็นแมลงพื้นเมืองของไทยกำจัดจอกได้ดีเป็นที่ยอมรับและใช้อยู่โดยกรมชลประทานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การควบคุมทางกฎหมาย

วัชพืชร้ายแรงหลายชนิดกำลังระบาดในประเทศไทยอยู่ในขณะนี้ โดยนำมาจากต่างประเทศ เช่น ไมยราบยักษ์ ผักตบชวา ขจรจบ การควบคุมโดยอาศัยกฎหมาย ทำได้โดยห้ามนำพืชที่คาดว่าจะเป็นวัชพืชหรือวัชพืชร้ายแรงเข้าประเทศ ตรวจสอบเมล็ดพันธุ์ที่อาจจะมีเมล็ดวัชพืชร้ายแรงปะปนมา นอกจากนี้อาจออกกฎหมายควบคุมการนำวัชพืชร้ายแรงไปแพร่กระจายในท้องถิ่นอื่น หรือชักชวนให้ราษฎรที่พบเห็นวัชพืชร้ายแรงระบาดบริเวณใดให้เก็บทำลายเสีย

 

4.2 การควบคุมวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี (NON-CHEMICAL WEED CONTROL)

การควบคุมกำจัดวัชพืชด้วยการใช้สารเคมี จะเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพและสามารถทำได้ทันเวลา แต่ในการใช้สารเคมีก็มีข้อกำจัดหลายประการ โดยเฉพาะด้านราคาและความปลอดภัย แม้สารเคมีกำจัดวัชพืชจะซื้อหาได้ง่ายในท้องถิ่น แต่ลักษณะปัญหาของวัชพืชที่หลากหลายและการใช้สารเคมีของเกษตรกรที่ไม่ถูกต้อง ด้วยเหตุนี้การควบคุมกำจัดโดยไม่ใช้สารเคมี จึงยังเป็นที่นิยมใช้ในพื้นที่การเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวทางพระราชดำริ รัชกาลที่ 9 และโดยเฉพาะพื้นที่เกษตรอินทรีย์ ซึ่งต้องการผลิตพืชปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมและผู้บริโภค ยังมีความจำเป็นและมีความเหมาะสมกับสภาพปัญหา สรุปวิธีการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมีไว้ 9 วิธี ดังนี้

4.2.1. วิธีกล (Mechanical Methods) เป็นการควบคุมกำจัดโดยใช้เครื่องมือง่ายๆ ไปจนถึงการใช้เครื่องจักรกลต่างๆ เช่น

1) การถอนด้วยมือ (hand pulling) เป็นการควบคุมกำจัดวัชพืชในกรณีที่มีพื้นที่ไม่กว้างขวางนัก เช่น สวนหลังบ้าน หรือในบางสภาพที่ไม่เหมาะจะใช้เครื่องมืออื่นใด เหมาะสำหรับควบคุมกำจัดวัชพืชในขณะที่ต้นวัชพืชยังเล็ก หากวัชพืชมีขนาดใหญ่ การถอนอาจทำได้ลำบาก และอาจกระทบกระเทือนระบบรากของพืชปลูกได้ การถอนอาจใช้เครื่องมือง่ายๆ เข้าช่วย เช่น พลั่วหรือเสียม เป็นต้น

การถอน ชาวสวนมักดายหญ้าต้นสูงๆ ออก หรือที่เรียกว่า ทำรุ่น โดยใช้มีด จอบ หรือเสียม หากต้นเล็กใช้การถอนออก ซึ่งเหมาะสำหรับสวนที่มีเนื้อที่น้อยๆ และวัชพืชนั้นเพิ่งเริ่มงอก รากหยั่งดินยังไม่ลึก ถ้าเป็นวัชพืชที่มีอายุข้ามปี การใช้มือถอนจะทำให้รากขาด ถ้าทิ้งไว้รากจะงอกขึ้นมาใหม่ การถอนวัชพืชควรรดน้ำให้ดินแฉะเสียก่อน ทำให้ถอนง่ายขึ้น เช่น แห้วหมูที่ขึ้นแซมในสนามหญ้า หากถอนเมื่อดินแข็ง ต้นมักขาด หัวยังคงอยู่ในดิน สามารถงอกใหม่ได้ ควรรดน้ำเสียก่อน เวลาถอนหัวแห้วหมูจะได้ติดมาด้วย การใช้มือถอนควรทำก่อนที่วัชพืชออกดอก

2) การตัดและตัดฟัน (mowing and cutting) เป็นการควบคุมเฉพาะส่วนบนดินของวัชพืช การตัดอาจใช้เครื่องตัดหญ้าขนาดและประเภทต่างๆ ขึ้นกับสภาพและชนิดของวัชพืชในสนามหญ้าอาจใช้รถตัดหญ้าทั่วๆ ไป ในแปลงไม้ผล ไม้ยืนต้น หรือริมทางอาจใช้เครื่องตัดหญ้าติดรถแทรกเตอร์ (slasher) ในบริเวณขรุขระอาจใช้เครื่องตัดหญ้าสะพายหลัง หรือหากเป็นวัชพืชต้นใหญ่อาจ ใช้มีดตัดฟัน การตัดนอกจากเป็นการลดการเจริญเติบโตแล้ว ยังเป็นการป้องกันการผลิตเมล็ดของวัชพืชด้วย

การใช้เครื่องตัดหญ้าหรือกรรไกรตัดหญ้า เป็นการทำให้วัชพืชต้นเตี้ยลง ยอดใบถูกทำลาย ไม่เจริญดีเท่าที่ควร หมั่นตัดอย่าให้วัชพืชเจริญเป็นต้นสูง มิฉะนั้นแล้ววัชพืชจะผลิตดอกออกผล ช่วยแพร่กระจายพันธุ์อีกด้วย

3) การใช้จอบ (hoeing) จอบเป็นเครื่องมือเกษตรกรรมพื้นฐานและรู้จักใช้กันมาช้านาน ใช้กำจัดวัชพืชได้ทั้งลักษณะถาก ขุด และพรวน เหมาะสำหรับกำจัดวัชพืชในทุกๆ สภาพในบริเวณที่ไม่กว้างนัก หรือเป็นจุดๆ หย่อมๆ

การขุดโดยใช้มีด จอบ และเสียม เครื่องมือเหล่านี้เป็นเครื่องมือของเกษตรกร ใช้ถาง ขุด ทำลายวัชพืช ทำได้ตั้งแต่ไร่ขนาดเล็กถึงไร่ขนาดใหญ่ แต่ต้องมีแรงงานพอที่จะทำการขุดหรือถาง การใช้จอบหรือเสียม รากของวัชพืชจะถูกขุดขึ้นมาด้วย และถ้าตากดินทิ้งไว้รากจะแห้งตาย เช่น แห้วหมู ส่วนการใช้จอบ หรือเสียม หรือมีดถากถางหญ้านั้น เป็นเพียงตัดต้นวัชพืชเฉพาะส่วนที่อยู่บนดินเท่านั้น ส่วนที่อยู่ใต้ดินยังคงอยู่ จะแตกเป็นต้นใหม่อีกเมื่อได้รับความชื้น ดังนั้น ควรขุด หรือถางพื้นดิน แล้วเก็บวัชพืชทิ้ง ซึ่งเป็นวิธีทำลายวัชพืช และเป็นการพรวนดินให้แก่พืชปลูกอีกด้วย

4) การไถพรวน (tillage) เป็นวิธีการที่ทำก่อนหรือหลังการเพาะปลูก การไถก่อน การเพาะปลูกพืชเป็นการทำลายวัชพืชที่ขึ้นอยู่แล้ว และปรับดินให้มีความพร้อมสำหรับการเพาะปลูกเป็นการช่วยลดการแก่งแย่งแข่งขันในระยะที่พืชปลูกมีขนาดเล็ก ส่วนการพรวนเป็นการทำลายวัชพืชที่มีขนาดเล็กในระหว่างแถวหลังจากที่ปลูกพืชไปแล้ว หากวัชพืชมีขนาดค่อนข้างใหญ่หรือใหญ่ โดยเฉพาะหากเป็นวัชพืชข้ามปีก็มักจะต้องมีการไถระหว่างแถว เช่น ในส่วนยางพารา และส่วนมะพร้าว เป็นต้น การไถพรวนตื้นๆ ก่อนการเพาะปลูกสักระยะหนึ่ง เป็นการนำเอาเมล็ดวัชพืชที่ฝังอยู่ระดับล่างขึ้นมาอยู่บริเวณ ผิวดินแล้วปล่อยให้เมล็ดวัชพืชงอก เป็นการลดจำนวนเมล็ด ในดิน (seed bank) ก่อนการปลูกพืชจะทำการไถกลบวัชพืชเหล่านี้ หรือ หากไม่ไถกลบก็อาจใช้สารกำจัดวัชพืชพวกถูกตาย ซึ่งไม่มีผลตกค้างในดิน เช่น paraquat ฉีดพ่นกำจัดวัชพืชที่งอกขึ้นมานี้ เมื่อวัชพืชตายแล้วก็ปลูกพืชเลยโดยไม่ไถพรวนอีก วิธีการเช่นนี้เรียกว่า stale-seedbed technique ซึ่งจะช่วยลดปริมาณวัชพืชที่จะขึ้นมารบกวนพืชปลูกได้มาก เพราะไม่ได้ไปรบกวนดินนำเมล็ดวัชพืชจากระดับล่างขึ้นมาในระดับบนอีก

การไถพรวน การใช้รถแทรกเตอร์ไถ หรือพรวนดิน ก่อนลงมือปลูกพืช นอกจากเป็นการเตรียมดินแล้ว ยังทำให้จำนวนวัชพืชลดลงได้มาก การไถพรวนเป็นการกลบวัชพืชลงในดิน และพลิกเอาลำต้นใต้ดินของวัชพืชข้ามปีขึ้นมาสู่ผิวดิน เมื่อถูกแดดเผาก็จะแห้งตายได้ เช่น หญ้าคา หญ้าชันกาดใช้ได้ผลดี การไถพรวนใช้ได้ผลดีในการกำจัดวัชพืชฤดูเดียวที่ขยายด้วยเมล็ด การไถครั้งแรกทำให้วัชพืชที่มีอยู่แล้วถูกทำลาย ทั้งกระตุ้นให้เมล็ดวัชพืชงอก เมล็ดที่อยู่ในดินลึกๆ ไม่สามารถงอกได้เนื่องจากขาดออกซิเจน แสงแดด ความชื้น การไถทำให้เมล็ดวัชพืชที่อยู่ชั้นล่างของดินถูกพลิกขึ้นมาบนผิวดิน เมล็ดเมื่อได้รับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ก็จะงอก หลังจากนั้นจะไถครั้งที่สองเพื่อกลบวัชพืชลงไปในดินอีกครั้ง และการไถแต่ละครั้งต้องเว้นระยะเวลาห่างกันประมาณ 7-14 วัน เพื่อให้วัชพืชที่โดนกลบเน่าก่อนที่จะไถหรือพรวนครั้งต่อไป ถ้าไถโดยไม่เว้นระยะเวลาให้ห่างกันจะทำให้ผลในการควบคุมวัชพืชต่ำและอาจเป็นการย้ายปลูกวัชพืช หรือช่วยกระตุ้นให้ส่วนขยายพันธุ์ใต้ดินที่ถูกตัดขาดออกจากกันงอกได้ดีขึ้น

หญ้าขจรจบ ถ้ามีการไถพรวนดินสัก 2-3 ครั้ง ก่อนลงมือปลูกข้าวโพด เมล็ดหญ้าขจรจบจะงอกน้อยกว่าไถพรวนเพียงครั้งเดียว รากวัชพืชบางชนิดหยั่งดินลึก การไถพรวนตื้นไม่สามารถกำจัดได้ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของดิน ถ้าดินแห้งไถพรวนได้ตื้น ถ้าดินชื้นไถพรวนได้ลึกสามารถไถได้ลึก 8-10 นิ้ว จากผลการเพาะเมล็ดหญ้าขจรจบในความลึกต่างๆ กัน ปรากฏว่า ถ้าเพาะที่ผิวดิน จะงอกประมาณ ร้อยละ 80 หากเพาะลึก 4 นิ้วแล้ว เมล็ดจะงอกน้อยประมาณร้อยละ 8 เมล็ดพืชนั้น หากฝังดินยิ่งลึกมาก ความสามารถงอกยิ่งลดลง

4.2.2 การเผา (Burning) เป็นการทำลายวัชพืชที่งอกเป็นต้นแล้ว อาจมีการตัดฟันก่อนเผา เช่น ในการเตรียมพื้นที่ปลูกพืชจากพื้นที่ๆ มีสภาพป่าหรือมีวัชพืชยืนต้นขึ้นหนาแน่น หรืออาจเป็นการเผาโดยไม่ตัดฟันเลย ซึ่งใช้ในกรณีเป็นหญ้าหรือวัชพืชใบกว้างข้ามปีที่ต้นไม่ใหญ่นัก เช่น หญ้าคา สาบเสือ เป็นต้น นอกจากนี้ การเผาในบริเวณที่เพาะปลูกโดยสม่ำเสมอ เช่น ในนาข้าว เป็นการทำลายเมล็ดวัชพืชที่ร่วงและอยู่บนผิวดิน แต่ไม่สามารถทำลายเมล็ดวัชพืชซึ่งตกลงไปในรอยแตกระแหงของดิน หรือเมล็ดที่ถูกดินกลบไปก่อนแล้ว ทั้งนี้ ควรต้องคำนึ่งถึงการสูญเสียอินทรีย์วัตถุจากดิน และการเกิดควันไฟ ซึ่งมีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม

 

การใช้ความร้อนหรือเผา ความร้อนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อพืชได้ อยู่ระหว่าง 45-55 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับเนื้อเยื่อ หรือชนิดของพืช เพราะความร้อนไปทำให้โปรโตพลาสซึมตกตะกอน เอนไซม์ไม่ทำงาน การกำจัดวัชพืชโดยใช้เปลวไฟหรือเผานี้ นิยมใช้กำจัดวัชพืชริมถนน ริมคลองคันคูชลประทาน ที่รกร้าง หรือในไร่หลังเก็บเกี่ยวแล้วการใช้เปลวไฟกำจัดวัชพืชในพืชไร่หลายชนิดได้ผลแต่ต้องคำนึงถึงอุณหภูมิของเปลวไฟ สามารถทำลายวัชพืชได้ แต่ไม่เป็นอันตรายต่อพืชปลูก

การเผาตอซังพืชปลูก นอกจากจะเป็นการกำจัดวัชพืชแล้ว ยังทำให้แปลงปลูกสะอาด ปราศจากเชื้อโรคและแมลง ซึ่งเป็นศัตรูพืชปลูก

4.2.3 การคลุมดิน (Mulching)

การคลุมดินสามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ

1) การคลุมโดยวัสดุไม่มีชีวิต (non-living mulch) เป็นการคลุมโดยอาจใช้วัสดุเหลือทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว หญ้าแห้ง หรือแกลบ หรือวัสดุแปรรูป เช่น กระดาษ หรือพลาสติก

2) การคลุมโดยวัสดุมีชีวิต (living mulch) เป็นการคลุมโดยการปลูกพืช ซึ่งมีลักษณะการเจริญเติบโตในระดับต่ำกว่าพืชหลัก ให้ครอบคลุมพื้นที่ว่างระหว่างแถวและระหว่างต้นพืช โดยพืชที่ปลูกเพื่อคลุมดินนั้น ควรมีความต้องการปัจจัยเพื่อการเจริญเติบโตต่างจากพืชปลูก ตัวอย่างเช่น การปลูกพืชตระกูลถั่วเป็นพืชคลุมในสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน หรือสวนผลไม้ การปลูกหญ้าในระหว่างแปลงไม้ดอก หรือการปล่อยให้หญ้าขึ้นแล้วตัดหรือให้สัตว์แทะเล็มในแปลงพืชยืนต้น

การคลุมดินนอกจากจะช่วยควบคุมวัชพืชแล้วยังเป็นการช่วยเพิ่มความชื้น ความอุดมสมบูรณ์ และจุลินทรีย์ในดิน และยังช่วยในการอนุรักษ์ดินด้วย

การให้ร่ม อาจจะใช้ฟาง แกลบ หรือกระดาษคลุมดิน เพื่อป้องกันมิให้ต้นวัชพืชได้รับแสง และจะตายไปในที่สุด ในต่างประเทศได้ใช้กระดาษคลุมดินแปลงอ้อยและสับปะรดกันมาก ปัจจุบันดัดแปลงเป็นแผ่นพลาสติกสีดำใช้คลุมดิน เพื่อป้องกันวัชพืช ในประเทศไทยใช้ฟางข้าวและแกลบคลุมดิน นอกจากจะรักษาความชื้นของดินแล้ว ยังเป็นการกำจัดวัชพืชอีกด้วย โดยมากพวกแห้วหมูหรือกกสามารถงอกทะลุฟางข้าวคลุมดินได้บ้าง ซึ่งเราก็สามารถถอนออกได้ง่าย เพราะดินไม่แห้งแข็ง

4.2.4 การปล่อยน้ำท่วม (Flooding)

การปล่อยน้ำท่วมเป็นการทำให้ผิวดินเกิดสภาพขาดออกซิเจน ทำให้เมล็ดวัชพืชไม่งอก หรือวัชพืชที่งอกแล้วก็จะตายได้ เช่น สภาพในนาข้าวโดยเฉพาะนาดำ หากมีการควบคุมระดับน้ำได้ก็จะมีปัญหาเรื่องวัชพืชน้อยมาก แต่ถ้าหากเกิดการขาดน้ำ หน้าดินเริ่มได้รับออกซิเจน จะมีวัชพืชหลายชนิดงอกขึ้นมา เช่น หญ้าหนวดปลาดุก หญ้าหนวดแมว และกกต่างๆ การปล่อยน้ำท่วม ทำได้โดยการทำคันล้อมรอบพื้นที่แล้วปล่อยให้น้ำท่วมสูง ประมาณ 5-10 นิ้ว นานประมาณ 3-4 สัปดาห์ จะช่วยควบคุมกำจัดวัชพืชที่งอกแล้วได้เป็นอย่างดี หรือในกรณีที่ต้องการควบคุมการงอกของเมล็ดวัชพืชในนาข้าวให้มีน้ำขังไว้ตลอดจนถึงใกล้ระยะข้าวสุกแก่และเก็บเกี่ยว

การใช้น้ำขังให้ท่วมแปลง เป็นวิธีการกำจัดวัชพืชอีกวิธีหนึ่ง โดยการปล่อยน้ำให้ท่วมพื้นที่เป็นระยะเวลา 1-2 เดือน ซึ่งควรเป็นระยะเวลาว่างจากการเพาะปลูกพืชผลในฤดูแล้ง ข้อสำคัญต้องให้น้ำนั้นท่วมถึงยอดต้นวัชพืช ก่อนขังน้ำควรมีการไถพรวนดินเสียก่อน เป็นการทำลายต้น และเมล็ดวัชพืช หากวัชพืชเป็นไม้น้ำเมื่อระบายน้ำออกจากแปลงต้นจะแห้งตาย

4.2.5 การใช้ระบบการปลูกพืช (Cropping Systems) ระบบการปลูกพืชที่ช่วยในการควบคุมกำจัดวัชพืช มี 2 ลักษณะ คือ

1) การปลูกพืชหมุนเวียน (crop rotation) ในการปลูกพืชโดยทั่วไปหากมีการปลูกพืชชนิดใดชนิดหนึ่งในพื้นที่เดิมติดต่อกัน นานเกินไป มักจะมีวัชพืชซึ่งปรับตัวเองให้เข้ากับพืชปลูกและลักษณะการจัดการพืชปลูกนั้นเป็นวัชพืชหลักขึ้นมาด้วย การปลูกพืชหมุนเวียนโดยใช้พืชที่มีความต้องการปัจจัยเพื่อการเจริญเติบโตและการจัดการที่แตกต่างกัน ทั้งหมดหรือบางส่วนเข้ามาในระบบการปลูกพืชจะทำให้วัชพืช ซึ่งปรับตัวเป็นวัชพืชหลัก (dominant weed) ลดลงไปได้

2) การปลูกพืชแซมสลับ (intercropping) พื้นที่ว่างระหว่างแถวพืชปลูกจะเป็นบริเวณที่มีการงอกและการเจริญเติบโตของวัชพืชมากกว่าบริเวณอื่น การใช้พื้นที่ในบริเวณนี้เพื่อการปลูกพืชมีค่าทางเศรษฐกิจ โดยจัดระบบและวิธีการเพาะปลูกไม่ให้ไปแก่งแย่งแข่งขันกับพืชหลักก็จะเป็นการช่วยลดปัญหาวัชพืชลงไปได้มาก ตัวอย่างเช่น การปลูกสับปะรด หรือปลูกพืชอื่นๆ เป็นพืชแซมยางพารา การปลูกถั่วแซมข้าวโพด เป็นต้น

4.2.6 การใช้พืชแข่งขัน (Smother Crops) วิธีการนี้เป็นการใช้พืชปลูกที่มีนิสัยในการเจริญเติบโตในลักษณะก้าวร้าว (aggressive) กว่าวัชพืช เช่น มีเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดสูง สามารถงอกได้ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ต้นอ่อนเจริญเติบโตเร็ว มีระบบรากใหญ่และแพร่กระจายออกไปได้เร็ว มีลำต้นหรือทรงพุ่มแผ่คลุมพื้นที่ได้เร็ว หรือมีลักษณะเป็นเถาหรือต้นแผ่เลื้อย (prostrate) การใช้พืชแข่งขันอาจเป็นการคัดเลือกชนิดหรือพันธุ์พืชปลูกให้มีลักษณะก้าวร้าวเช่นที่กล่าวแล้วนี้ หรือคัดเลือกให้ได้ชนิดหรือพันธุ์ที่ทนทานต่อการแก่งแย่งแข่งขันจากวัชพืช การคัดเลือกปรับปรุงพันธุ์พืชโดยทั่วไปจะกระทำในสภาพที่ไม่มีวัชพืช เมื่อได้พันธุ์พืชมาแล้วและนำไปปลูก เกษตรกรมักควบคุมกำจัดวัชพืชไม่ได้ทั้งหมด บางสภาพไม่ได้ควบคุมกำจัดเลย พืชปลูกพันธุ์ดีโดยทั่วไปจึงมักเสียเปรียบวัชพืชในด้านการเจริญเติบโตที่ต้องแก่งแย่งแข่งขันกัน การปรับปรุงพันธุ์พืชจึงน่าจะได้พิจารณาคัดพันธุ์ที่แก่งแย่งแข่งขันกับวัชพืชได้ดีด้วย

4.2.7 การปลูกปฏิบัติ (Cultural Methods) วิธีการในการปลูกปฏิบัติที่ช่วยส่งเสริมให้พืชปลูกเจริญเติบโตและคลุมพื้นที่ได้เร็ว จะช่วยลดปัญหาวัชพืชลงได้มาก ตัวอย่างของการปลูกปฏิบัติที่ช่วยลดปัญหาวัชพืช เช่น การเพิ่มปุ๋ยให้กับพืชปลูกการเตรียมแปลงปลูกที่ดี การใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่สมบูรณ์แข็งแรง การจัดความหนาแน่นของพืชให้เหมาะสม (plant density) การเลือกเวลาปลูกที่เหมาะสม (planting date) การควบคุมวัชพืชในระยะแรก และการปลูกโดยการย้ายกล้า การปลูกปฏิบัติเช่นที่กล่าวมานี้จะช่วยให้พืชปลูกมีการเจริญเติบโต ล้ำหน้า (growth advantage) มีความได้เปรียบในการแก่งแย่งแข่งขันกับวัชพืช

 

4.2.8 การใช้ชีวินทรีย์ (Biological Methods) วิธีการนี้เป็นการใช้สิ่งมีชีวิตมาเป็นตัวกัดกินหรือทำลายวัชพืช สิ่งมีชีวิตในที่นี้อาจเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ เช่น สัตว์เคี้ยวเอื้องต่างๆ สัตว์ขนาดกลาง เช่น ปลา หรือสัตว์น้ำอื่นๆ และสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แมลง รวมไปถึงที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น คือ โรคพืช

สัตว์เคี้ยวเอื้องหลายชนิด เช่น แพะ แกะ วัว ควาย ซึ่งเป็นสัตว์แทะเล็มหญ้าและวัชพืชจะเป็นตัวช่วยลดปัญหาวัชพืชได้ดี โดยเฉพาะวัชพืชในพืชยืนต้น นอกจากนี้การตัดวัชพืชโดยเฉพาะหญ้ามาเลี้ยงสัตว์เหล่านี้ก็เป็นการช่วยลดปัญหาวัชพืชลงด้วย

สัตว์น้ำหลายชนิดช่วยในการกำจัดวัชพืชน้ำได้ดีทั้งวัชพืชประเภทลอยน้ำและรากถึงดิน ได้มีการนำสัตว์น้ำบางชนิดมาเลี้ยงในแหล่งน้ำ ในเขตชลประทาน และในนาข้าว เพื่อช่วยลดปัญหาวัชพืชในบริเวณเหล่านี้ สัตว์น้ำเหล่านี้มีทั้งเป็ด ปลา กุ้ง ปู และหอย ซึ่งกินพืชเป็นอาหาร

แมลงหลายชนิดเป็นศัตรูที่สำคัญของวัชพืช ได้มีทฤษฎีทางธรรมชาติวิทยาว่า พืชหลายชนิดมีศัตรูธรรมชาติของมันเอง และในบริเวณที่เป็นถิ่นกำเนิดของพืชจะมีศัตรูธรรมชาติจำพวกแมลง และโรดพืชอยู่ หากมีการระบาดของศัตรูธรรมชาติรุนแรง พืชโดยเฉพาะพืชที่จัดเป็นวัชพืชอาจสูญหายหรือหมดไป การนำวัชพืชเข้าไปยังแหล่งใหม่ หากไม่มีศัตรูธรรมชาติติดไปด้วย วัชพืชชนิดนั้นๆ จะเจริญเติบโตและแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว ได้มีการศึกษาเกี่ยวกับศัตรูธรรมชาติของวัชพืชหลายชนิดในปัจจุบัน เพื่อหาทางนำศัตรูธรรมชาติเหล่านี้มาใช้ในการควบคุมกำจัดวัชพืชที่เป็นปัญหาร้ายแรงต่างๆ โดยมีหลักการว่าศัตรูธรรมชาติที่จะนำมาใช้นี้จะต้องไม่เป็นศัตรูกับพืชปลูก การค้นคว้าวิจัยเรื่องนี้จึงต้องทำอย่างระมัดระวัง และต้องใช้เวลานาน ในปัจจุบันเท่าที่ได้มีการปฏิบัติอย่างค่อนข้างจะประสบผลสำเร็จ คือ การใช้ตัวหนอนของ Crocidosema lantana กำจัดผกากรองในทุ่งหญ้าในฮาวายและการใช้ Cactoblastic cactorum กำจัดตะบองเพชรในออสเตรเลีย สำหรับในประเทศไทยได้มีการศึกษาทดลองและความพยายามที่จะใช้ด้วงบางชนิดควบคุมกำจัดผักตบชวาและไมยราบยักษ์ ซึ่งมีรายงานในขณะนี้ว่าประสบความสำเร็จแล้วระดับหนึ่ง

จากประสบการณ์จากธรรมชาติ กล่าวคือ ต้นไม้ถูกรบกวนทำลายโดยศัตรูธรรมชาติ ได้แก่ พืช สัตว์ แมลง และเชื้อโรค แต่มิใช่เป็นวิธีการที่สามารถกำจัดวัชพืชให้หมดสิ้นไป เพียงลดปริมาณลงเท่านั้นการกำจัดวัชพืชโดยสิ่งมีชีวิตจะได้ผลดี สำหรับวัชพืชชนิดเดียวที่ขึ้นหนาแน่นในพื้นที่มากๆ เช่น ในออสเตรเลียใช้แมลงกำจัดกระบองเพชร แมลงที่ปล่อยให้กัดกินต้นกระบองเพชร นำมาจากประเทศอาร์เจนตินา โดยเลี้ยงขยายพันธุ์ให้ได้จำนวนมาก แล้วจึงปล่อยในทุ่งกระบองเพชร แต่การจะนำแมลง หรือศัตรูชนิดใดเข้าประเทศ เพื่อกำจัดวัชพืช ต้องคำนึงว่าศัตรูนั้น จะไม่ทำลายพืชเศรษฐกิจหรือพืชปลูก อเมริกาใช้สัตว์น้ำชนิดหนึ่ง เรียกว่า มานาที กำจัดผักตบชวาและวัชพืชน้ำอื่นๆ สัตว์ชนิดนี้กินพืชเป็นอาหาร และเลี้ยงปลาที่กินพืชเป็นอาหาร ในบ่อมีวัชพืชน้ำขึ้นหนาแน่น

ประเทศญี่ปุ่นได้มีการศึกษาค้นคว้าใช้กั้งน้ำจืด (tadpole shrimps) กำจัดวัชพืชในนาข้าว กั้งน้ำจืดจะใช้เท้ากวาดให้เมล็ดวัชพืชที่กำลังงอกลอยน้ำ รากไม่สามารถหยั่งดิน จึงไม่เจริญเติบโต ปัจจุบันอเมริกาเลี้ยงเชื้อราชนิดหนึ่งเป็นการค้า ราชนิดนี้สามารถกำจัดวัชพืชจำพวกโสนคางคก โดยรานี้ทำให้วัชพืชดังกล่าวเป็นโรค ในฮาวายใช้ราที่ทำให้เกิดโรคใบเหี่ยวกำจัดวัชพืชจำพวกชุมเห็ด หรือขี้เหล็ก การปล่อยวัวควายกินหญ้าในสวนมะพร้าว หรือสวนยางก็เป็นการกำจัดวัชพืชโดยสิ่งมีชีวิตวิธีหนึ่ง

การกำจัดวัชพืชโดยสิ่งมีชีวิต มิได้หมายถึงการใช้สัตว์ แมลง หรือเชื้อโรคเท่านั้น ยังรวมไปถึงพืชด้วย โดยเลือกปลูกพืชที่เติบโตเร็วกว่าวัชพืชหรือที่เรียกว่า พืชคลุมดิน นิยมใช้พืชตระกูลถั่ว ซึ่งมีใบใหญ่เจริญเติบโตเร็ว และเป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน เช่น เซนโทรซีมา (Centrosema pubescens) หรือ ปลูกพืชเศรษฐกิจสลับชนิดกัน เช่น ปลูกข้าวสลับกับการปลูกถั่ว การกระทำดังกล่าวจะช่วยลดปริมาณ และทำให้การกำจัดวัชพืชสะดวกได้ผลดีขึ้น

ชีววิธี (biological control) เป็นการใช้สิ่งมีชีวิตในการจัดการวัชพืช (แมลง จุลินทรีย์ สัตว์) วิธีนี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ที่จะควบคุมวัชพืชให้สมบูรณ์ 100 เปอร์เซ็นต์ แต่เป็นการลดปริมาณวัชพืชในระดับหนึ่ง ที่ไม่ทำให้เกิดความเสียหาย

1) การใช้แมลงในการควบคุมวัชพืชใช้ผีเสื้อแคคตัส ควบคุมกระบองเพชรในออสเตรเลีย ด้วงเจาะเมล็ด Acanthoscelides puniceus และ Acanthoscelides quadridentatus นำมาจากออสเตรเลีย เพื่อควบคุมไมยราบยักษ์

2) การนำจุลินทรีย์มาควบคุมวัชพืช นำเอาจุลินทรีย์เชื้อสาเหตุโรคพืชบางชนิดมาควบคุมวัชพืช เช่น Alternaria eichhornia , Myothecium roridum และ Rhizoctonia solani มาควบคุมผักตบชวา

3) การนำสัตว์มาควบคุมวัชพืช เป็นการนำสัตว์มาควบคุมการแพร่ระบาดของวัชพืช เช่น การนำหอยทาก Marisa cornuarietis มาควบคุม สาหร่ายพุงชะโด

ตัวอย่างการควบคุมวัชพืชโดยชีววิธี-ผลสําเร็จ

แคคตัส-ออสเตรเลีย • แคคตัส (Opuntia inermius; Opuntia stricta) ใช้หนอนผีเสื้อ (Cactoblastis cactorum) จากอาร์เจนตินา นําไปใชที่ฮาวาย แอฟริกาใตประเทศอื่น >10 สามารถลดความเสียหายได ถึง 50 ลานไร่

ผกากรอง-ฮาวาย • ถิ่นกําเนิดอยูในเขตร้อน อเมริกากลาง ใต ทําความเสียหาย > 1 ล านไร ใชมวนปกใส (Teleonemia scrupulosa) จากเม็กซิโก ต้องมีการศึกษามากขึ้้น

ผักตบชวา ใช้ด้วงหมัด Neochetina eichhorniae กัดเกิดแผลแล้วฉีดพ่นเชื้อรา Myrothecium roridum

ฝอยทอง-Alternaria cuscutaecidae ควบคุมวัชพืชชนิดเดียวเฉพาะเจาะจงสูง ควบคุมวัชพืชหลายชนิดเฉพาะเจาะจงต่ํา

การจัดการควบคุมวัชพืชโดยชีววิธี ต้องใช้วิธีการควบคุมโดยชีววิธีให้เหมาะสมกับปัญหา คือ เหมาะสมกับวัชพืช ศัตรูธรรมชาติของวัชพืช ความเฉพาะเจาจงของศัตรูธรรมชาติต่อวัชพืช-พืชปลูก ความยากง่ายการจัดการควบคุม และความปลอดภัยในการใช้วิธีการควบคุม การจัดการควบคุมวัชพืชโดยชีววิธี ดังนี้

1) ตรวจสอบความเหมาะสมของวัชพืช

วิธีการควบคุม

• วัชพืชอื่นเกิดการระบาดหลังจากวัชพืชแรกสําเร็จ

• ใช้ด้วงหมัดควบคุมผักเป็ด ผักตบชวาระบาดแทน

• มักใช้กับวัชพืชบก มีศัตรูธรรมชาติมากกว่า

2) สํารวจหาศัตรูธรรมชาติของวัชพืชนั้น

• ชีวินทรีย์ที่่ช่วยลดการเจริญเติบโต-ขยายพันธุ์วัชพืช

• ชนิดของชีวินทรีย 

• แมลง

• ไร

• พืชกาฝาก

 

 
 

• มีการนํามาใชน้อย

• มองไม่เห็นผลเสียหายชัดเจน

• ประเมินผลไมได

 

 

• เชื้อรา

• เชื้อแบคทีเรีย

• เชื้้อไวรัส

• สัตว

3) ศึกษาและประเมินผลทางนิเวศน์วิทยา

• ตรวจสอบความเฉพาะเจาะจงต่อพืชอาศัย

• คัดเลือกชนิดของศัตรูได

• ออสเตรเลีย-แคคตัส

• ใช้แมลงที่มีความเจาะจง 51 ชนิด

• แมลง 5 ชนิดที่่ได้ผล

• เสียค่าใช้จ่ายสูงใช้เวลามาก – เลือกแค่ 1 ชนิด

ชีวินทรีย์ที่ถูกนําเข้ามาตองปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม

ขยายพันธุ์ -เพิ่มจํานวนถึงระดับที่ควบคุมวัชพืชได

4) ทดสอบความเฉพาะเจาะจงของศัตรูธรรมชาติกับวัชพืช/พืชอื่น

• ไม่ทําลายพืชเศรษฐกิจอื่น

• ทดสอบในห้อง lab หรือห้องกักกัน

• มีความสามารถที่จะหาพืชอาศัยและเจริญเติบโตจนครบวงจรชีวิต

5) นําเขามาใช้และรักษาให้คงอยูในธรรมชาติ

• ศัตรูธรรมชาติมีความสามารถจะตั้งรกรากในธรรมชาติใหม

• นิสัยแมลงหากินกลางคืน แต่ไปปล่อยกลางวัน

• การใชสารเคมีกําจัดวัชพืช

• การแทะเล็มของสัตวใหญ

• สภาพน้ําท่วม

6) การประเมินผล

• ตรวจสอบระดับประชากรศัตรูพืช

• ตรวจสอบระดับความเสียหายของวัชพืช

• ลักษณะการทําลายวัชพืชรวดเร็ว

• ลดการแข่งขันวัชพืชกับพืชอื่น

• ใช้การถ่ายภาพก่อน-หลัง

ตัวอย่างการควบคุมวัชพืชโดยโรคพืช

ผักตบชวา

- เชื้อรา Cercospora rodmanii

- เข้าทําลายทางปากใบ-ก้านใบ

- อาการใบจุดรุนแรง ต้นตาย

- เฉพาะเจาะจงต่อพืชอาศัยมาก

การศึกษาการควบคุมวัชพืชน้ําโดยชีววิธี

1) ปลากินพืช

• ปลาเฉา (Ctenopharyngodon idella) ปลาพื้นเมืองจีน รัสเซีย กินวัชพืชได้หลายชนิด เช่น วัชพืชเนื้อเยื่ออ่อนนุ่ม ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ําได้ดีี ไม่สามารถแพร่พันธุ์ได้เองตามธรรมชาติ

2) หอย

• หอย (Marisa cornvariatis) กินวัชพืชน้ํา พืชน้ําหลายชนิด กัดกินต้นข าวได ด้วย แต่อยูในน้ําเย็นต่ํากว่า 10 องศาเซลเซียสไมได

3) เชื้อโรคพืช

• เชื้อรา Alternaria eichhorniae, Myrothecium roridum, Rhizoctonia solani กับ ผักตบชวา

4) แมลง

• ดวงหมัด Agasicles hygrophila กับ ผักเปด, ตัวออนดวงงวง Neochetina eichhorniae กับ ผักตบชวา, ดวงงวงเจาะชอนใบและลําตน Cyrtobagous singularis กับ จอกหูหนู

 

การควบคุมวัชพืชโดยเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม GMOs กับวัชพืช

GMOs หรือ Genetically modified organisms คือ สิ่งมีชีวิตที่ไดจากการดัดแปลงสารพันธุกรรม มักทําในสิ่งมีชีวิต เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย 

นิยมทํา GMOs ในพืช

• ทําได้ง่ายกว่า

• ศึกษาผลกระทบที่่เกิดข ึ้นได้หลายชั่วอายุ

• ใช้เวลาเร็วกว่าทําในสัตว์

• Biotechnology คือ การดัดแปลง/ปรับแตงสารชีวโมเลกุลโดยมนุษย โดยใช้ genetic engineering เพื่อ Breeding ไมไดเปลี่ยนแปลงที่ตัวยีนโดยตรง

วิธีการทํา GMOs

• Genetically modified organisms

• คัดเลือกสายพันธุ์โดยเจาะจงไปยังยีนที่่ตองการโดยตรง

• ใช้ยีนจากพืชสัตว์ จุลินทรีย 

• ใสยีนเข้าไปในโครโมโซมภายในเซลล์พืช

• แล้วกลายเป็นส่วนหนึ่่งของโครโมโซมพืช

วีธีการถ่ายทอดยีน

1) ใชจุลินทรียเป็นพาหะช่วยพายีนเขาไปในเซลล์พืช

2) ใช gun gene ยิงยีนเขาไปในเซลล์

• ใสยีนควบคุม เพื่อการสะกดรอย

• เรียกยีนบ่งชี้ ้marker gene

• วิธีการตรวจหา GMOs ในพืชหรืออาหาร

• ตรวจหา marker gene

• ใชpolymerase chain reaction

• PCR

ทําไมตองพัฒนา GMOs

• ประมาณ 50 ปี โลกมีประชากร 7,000 ล้านคน

• ต้องการพื้นที่่อยู่อาศัยมากขึ้น

• พื้นที่่ทําการเกษตรน้อยลง

• มลภาวะ ความเสื่่อมโทรมของป่า-ดิน เพิ่มขึ้น

• หาวิธีเพิ่มอาหารให้เพียงพอ โดยไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติมากกว่านี้

• เพิ่มสมรรถนะในการผลิตทางการเกษตรมากว่าเพิ่มพื้นที่การผลิต

• เคยทําไดจากการปฏิวัติเขียว green revolution ปี 2503-2533

• เกิดผลกระทบจากสารเคมีปุ๋ยเครื่่องจักรกล

• เกิดความสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ข้อดีของ GMOs

• ยกระดับคุณภาพชีวิตโภชนาการ การแพทย์ สาธารณสุข

• แก้ปญหาการขาดแคลนอาหาร ยารักษาโรค

• เพิ่มอัตราผลผลิตต่อพื้นที่สูงกว่าเดิม

• การปฏิวัติการเกษตร-การแพทย genomic revolution

ประโยชน์ต่อเกษตรกร

- ได้พืชสายพันธุ์ใหม่ทนทานต่อสภาพแวดล้อม

- ทนต่อศัตรูพืช – สิ่งแวดล้อม

- ป้องกันตัวเองจากศัตรูพืชได

- เกิดพืชคุณสมบัตพิเศษ-ดีี

- เก็บรักษาได้นาน

- ขนส่งไกลโดยไมเน่าเสีย เช่น มะเขือเทศสุกช้า สุกแต่ไม่งอม เป็นต้น

ข้อดีของ GMOs

- ประโยชน์ต่อผู้บริโภค : ได้พืชมีคุณสมบัติเพิ่มในทางโภชนาการ (ส้ม มะนาว มีี วิตามินซี เพิ่มมากขึ้น) ได้พืชมีคุณค่าในเชิงพาณิชย  (ไม ดอกชนิดใหม ใหญ่กว่า สีสันแปลก คงทน)

- ประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม : การผลิตวัคซีนและยา ลดการใช้สารเคมีเกษตร ได ผลผลิตมากกว่าเดิม ต้นทุนการผลิตต่ําลง

- ประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม : พืชป้องกันศัตรูพืชได้เอง ใช้สารเคมีกําจัดศัตรูพืชน้อยลง มลภาวะน้อยลง ลดอันตรายต่อเกษตรกร

- พืชต้านทานสารกําจัดวัชพืช เกษตรกรมีแนวโนมใช้สารเคมีลดลง

- เกิดความหลากหลายของสายพันธุ์ เมื่อยีนได้รับการคัดเลือกได้แสดงออก

ข้อเสียของ GMOs

- ยังไม่มีรายงานอันตรายจากการบริโภคอาหาร GMOs แต่มีความกังวลต่อความเสี่ยงจากการใช GMOs

- ความเสี่ยงต่อผู้บริโภค : สารอาหารจาก GMOs อาจมีสิ่งปนเปอนที่เป็นอันตราย, กังวลการเปนพาหะของสารพิษ, DNA จากไวรัสที่่ใช ทํา GMOs, สารอาหารจาก GMOs อาจมีคุณค่า ทางโภชนาการไม่เท่าอาหารปกติ

- ความเสี่ยงต่อผู้บริโภค : กังวลต่อการเกิดสารภูมิแพ้ที่ได้จากแหล่งเดิมของยีนที่ใช ทํา GMOs, เกิดผลที่่ไม่คาดคิด (สัตว์มีสรีรวิทยาซับซ้อนกว่าพีชและจุลินทรีย), กังวลการดื้อยารักษาโรค ยีนที่ใช้ทํา GMOs มีสารปฏิชีวนะ ผู้ที่่ใชยาปฏิชีวนะอยู่ใชไมได้ผล เชื้้อโรคที่อยูในรางกายรวมกับยีนใหมเป็นสายพันธุ์ใหม่ที่่ต้านทาน

- ความเสี่่ยงต่อสิ่งแวดล้อม ; สารพิษที่่ใชปราบแมลงที่ได จาก GMOs มีผลกระทบต่อแมลงที่เปนประโยชน, กังวลการถ่ายเทยีนออกสูสิ่งแวดล้อม, สายพันธุ์ใหม่ที่่เหนือกว่าธรรมชาติ, เกิดการดื้อยาปราบวัชพืช super weed

- ความกังวลในด้านเศรษฐกิจสังคม ; การครอบงําโดยบรรษัทข้ามชาติที่มีสิทธิบัตรถือครองทรัพย์สินทางปญญา

4.2.9 การใช้ประโยชน์จากวัชพืช (Utilization of weeds)

หากสามารถพบประโยชน์จากวัชพืชได้ เช่น การใช้เป็นสมุนไพร การใช้เป็นส่วนประกอบของเครื่องจักสาน และเฟอร์นิเจอร์ ก็จะทำให้มีการเก็บเกี่ยว หรือนำส่วนของวัชพืชเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้ จัดว่าเป็นการควบคุมกำจัดวัชพืชอีกรูปแบบหนึ่งที่เหมาะกับระบบเกษตรแบบอินทรีย์ หรือระบบที่ต้องการคงความหลากหลายของชีวภาพในพื้นที่มากกว่าการเกษตรเชิงเดี่ยว

วัชพืชส่วนใหญ่แล้วจะทำให้เกิดผลเสียหายกับมนุษย์ตามที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นแต่จากมุมมองอันชาญฉลาดของมนุษย์ทำให้มีการค้นหาการใช้ประโยชน์จากวัชพืชทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น

1) วัชพืชเป็นประโยชน์โดยตรงต่อทางการเกษตรวัชพืชที่มีระบบรากที่ดีช่วยป้องกันการพังทลายของดินตามพื้นที่ลาดชันและช่วยอนุรักษ์หน้าดินเช่นหญ้าชนิดต่างๆ หญ้าแฝกและไมยราบยักษ์

1.1) วัชพืชเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน เมื่อวัชพืชตายลงเศษซากวัชพืชจะถูกย่อยสลายให้อินทรียวัตถุและแร่ธาตุอาหารกลับคืนลงสู่ดินช่วยให้คุณสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้นและเป็นประโยชน์ต่อพืชปลูกต่อไปได้

1.2) วัชพืชใช้เป็นพืชคลุมดินช่วยลดการสูญเสียความชื้นออกจากผิวดินช่วยลดการปะทะของน้ำฝนที่ตกลงมาเช่นการนำเศษหญ้าเศษพืชมาคลุมผิวดินหรือโคนต้นพวกไม้ผลและช่วยป้องกันการขึ้นแก่งแย่งแข่งขันของวัชพืชชนิดต่างๆกับพืชปลูกได้

1.3) วัชพืชเป็นแหล่งอาหารของแมลงที่เป็นประโยชน์วัชพืชมีดอกใช้เป็นแหล่งน้ำหวานของผึ้งเช่นสาบเสือและวัชพืชยังใช้เป็นที่หลบซ่อนตัวของศัตรูธรรมชาติอีกด้วย

1.4) วัชพืชเป็นแหล่งอาหารสัตว์ เช่น หญ้าขน เป็นต้น

1.5) วัชพืชใช้เป็นแหล่งถ่ายทอดพันธุ์ในการปรับปรุงพันธุ์พืชเนื่องจากวัชพืชหลายชนิดมีลักษณะใกล้เคียงกับพืชปลูกทางด้านสรีรวิทยาเราอาจนำวัชพืชมาใช้เป็นแหล่งทรัพยากรทางพันธุกรรม (genetic resources) เพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชให้ได้ลักษณะที่ดีตามความต้องการได้เช่นใช้ในการสร้างสายพันธุ์พืชที่มีความต้านทานต่อแมลงโรคพืชและต้านทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการต้านทานต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชชนิดต่างๆ ได้

1.6) วัชพืชบางชนิดสร้างสารที่เรียกว่า allelopathic substances ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมีกับวัชพืชอื่นๆได้เช่นยับยั้งการเจริญเติบโตการงอกและการแบ่งเซลล์ของพืชอื่น ซึ่งเราอาจใช้ให้เป็นประโยชน์ในการลดปัญหาการงอกชองพืชที่เราไม่ต้องการได้ เช่น รากของหญ้าคาที่ปล่อยสารทำให้พืชที่อยู่บริเวณใกล้เคียงไม่สามารถงอกได้

2) ประโยชน์ของวัชพืชนอกเหนือการเกษตรให้ประโยชน์แก่มนุษย์มากมาย ดังนี้

2.1) วัชพืชใช้เป็นอาหารของมนุษย์เช่นผักแว่นตำลึงผักโขมผักกะสังผักหนามผักแขยงผักปลังเทาไข่น้ำกระจับสันตะวายอดอ่อนผักตบชวาฯลฯ

2.2) วัชพืชที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียเช่นการใช้ผักตบชวาต้นธูปฤาษีช่วยในการดูดซับสารอินทรีย์และโลหะหนักเช่นที่บึงมักกะสันกรุงเทพฯ

2.3) วัชพืชใช้เป็นวัสดุเชื้อเพลิงเช่นการนำเอาส่วนลำต้นไมยราบยักษ์ที่มีเนื้อไม้ใช้แทนถ่านหรือฟืนได้ลดการตัดไม้ทำลายป่าของชาวบ้านในแถบชนบทอีกทั้งไมยราบยักษ์เป็นไม้โตเร็วสามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดีแต่เนื่องจากว่าไมยราบยักษ์มีหนามแหลมคมจึงทำให้ชาวบ้านไม่ค่อยสะดวกในการตัดไม้ชนิดนี้มาใช้ทำฟืน

2.4) วัชพืชที่นำมาทำประดิษฐ์เครื่องใช้ต่างๆเช่นวัชพืชย่านลิเภาผักตบชวากกสามารถนำมาทำกระเป๋าถือกล่องตะกร้าเปลญวนเข่งเสื่อหมวกและของใช้เครื่องประดับซึ่งงานประดิษฐ์เหล่านี้สามารถเพิ่มมูลค่าให้วัชพืชได้เช่นสินค้าโอทอป

2.5) วัชพืชบางชนิดช่วยเสริมสร้างภูมิทัศน์ที่สวยงามเช่นทุ่งดอกบัวตองที่บานสะพรั่งแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดแม่ฮ่องสอนแหล่งท่องเที่ยวที่ผู้คนนิยมไปมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย

2.6) วัชพืชที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรใช้รักษาโรคของมนุษย์และสัตว์ได้จากภูมิปัญญาของไทยในอดีตและของคนหลายชนชาติต่างล้วนเคยใช้วัชพืชหลายชนิดในการรักษาโรคและปัจจุบันนี้มีการหันกลับมาค้นหาพืชสมุนไพรพื้นบ้านมาเพื่อใช้ในการรักษาสุขภาพของมนุษย์แบบองค์รวมหรือการบำบัดโดยวิธีทางธรรมชาติทำให้การนวดแผนไทยและการแพทย์แผนไทยจึงกลับมามีบทบาทอีกครั้งหนึ่ง

วัชพืชสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้มากมายหากเรารู้ประโยชน์ของวัชพืชเราอาจไม่ต้องเสียเวลาหาวิธีการมากำจัดวัชพืชเหล่านั้นเพราะการนำมาใช้ก็จัดว่าเป็นการกำจัดวัชพืชด้วย

วัชพืช มักโผล่ขึ้นมาตามแปลงปลูกพืชผัก ในกระถางสนามหญ้า หรือริมทางที่รกร้างว่างเปล่า คนส่วนใหญ่มองว่าพืชพวกนี้คอยสร้างปัญหาและความเสียหายมากกว่าผลดี จึงถูกทำลายทิ้งแบบถอนรากถอนโคน แต่ก็มีคนนำพืชเหล่านี้มาพัฒนาจนกลายเป็นไม้ประดับตกแต่งสวน เช่นหญ้าน้ำพุ หญ้าสีฟ้า หญ้าถอดปล้อง หญ้าแดง วันนี้เราจะพาทุกคนไปรู้จักกับด้านดีของวัชพืช ทั้งประโยชน์และสรรพคุณมากมายที่เราอาจไม่เคยรู้มาก่อน จะมีอะไรบ้างไปชมพร้อมๆ กันเลย

ตัวอย่างการใช้วัชพืชที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรใช้รักษาโรค

ผักสลัดน้ำ (Watercress)  หรือ ผักวอเตอร์เครส จัดเป็นผักสำหรับคนรักสุขภาพลำต้นและใบคล้ายผักเป็ดไทย แต่จะต่างกันตรงที่ขนาดความยาวของใบผักชนิดนี้มีความยาวมากกว่า มี 2 สายพันธุ์หลักๆที่นิยมปลูกรับประทาน คือ  พันธุ์สีเขียวและพันธุ์สีแดง (หรือน้ำตาล) มีแหล่งปลูกที่สำคัญในแถบภาคเหนือและภาคใต้ซึ่งเป็นที่นิยมปลูกกันมาก เพราะเป็นผักที่ปลูกง่าย โตเร็วรับประทานสดได้ จะนำมาประกอบอาหารก็อร่อย แถมยังใช้ปลูกเป็นไม้ประดับในน้ำได้อีกด้วย

ประโยชน์ ผักวอเตอร์เครสช่วยบำรุงและรักษาสายตา เพราะเป็นผักที่อุดมไปด้วยวิตามินเอป้องกันและรักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน รับประทานสดหรือใช้ประกอบอาหารได้หลากหลายเมนูเช่นแกงจืด สลัด ซุป ผัดไฟแดง ชุบแป้งทอด  รับประทานสดพร้อมกับส้มตำ น้ำพริก หรือใช้ตกแต่งอาหารให้ดูน่ารับประทานมากยิ่งขึ้นช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันบำรุงและรักษากระดูกและฟันให้แข็งแรง

ส้มกบ (Creeping Wood sorrel) เป็นวัชพืชพุ่มเตี้ย สูงแค่ 2-3 นิ้ว มีอายุยืนหลายฤดู ลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ใบเป็นรูปหัวใจ แบ่งออกเป็น 3 ใบต่อหนึ่งช่อ เกิดจากจุดเดียวกันที่ปลายของก้านใบ  มีดอกเดี่ยวสีเหลือง  แต่ละดอกมีปลายแยกออกเป็นกลีบ 5 กลีบ

ประโยชน์ ช่วยในเรื่องระบบการย่อยอาหารใบสดนำมาใช้ทำแกงกินได้แก้อาการร้อนในในปากและเพดาน ลิ้นเป็นฝ้า  เจ็บคอ  ให้นำส้มกบมาเคี้ยวกินสัก 4-5 รอบ อาการจะดีขึ้นช่วยรักษาแผล ด้วยการนำน้ำคั้นจากต้นมาใช้ล้างแผล จะช่วยทำให้แผลหายเร็วยิ่งขึ้นช่วยแก้ข้ออักเสบ อาการเคล็ดขัดยอกและมีอาการปวดบวม โดยใช้ใบส้มกบสดมาตำแล้วพอกบริเวณที่มีอาการช้ำบวม ทำให้รู้สึกเย็นลดอาการปวดบวมให้น้อยลง

ธูปฤาษี หรือ กกธูป (Cattail) จัดว่าเป็นไม้ล้มลุก อายุหลายปี เจริญเติบโตในน้ำแทงหน่อขึ้นเป็นระยะสั้นๆ ลำต้นสูงได้ตั้งแต่ 1.50-3 เมตร ใบเป็นรูปแถบแบน กว้าง 1-2 เซนติเมตร ยาว 2 เมตร แตกสลับกันเป็นสองแถวด้านข้าง มีกาบใบ ช่อดอกเป็นสีน้ำตาลรูปทรงกระบอก เจริญเติบโตได้ดีในพื้นที่ชุ่มน้ำขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบตามหนองน้ำ ตามทะเลสาบหรือริมคลอง รวมไปถึงตามที่โล่งทั่วๆ ไป

ประโยชน์ ช่วยเรื่องการบำบัดน้ำเน่าเสียและรักษาการพังทลายของหน้าดิน ยอดอ่อนใช้รับประทานได้ทั้งสดและทำให้สุกธูปฤาษีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ อาจนำมาใช้เป็นอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยงหรือสัตว์เคี้ยวเอื้องได้ ใบธูปฤาษีเหนียวและยาวจึงนิยมนำมาใช้มุงหลังคา สานตะกร้า ทำเสื่อ และทำเชือก เยื่อของต้นสามารถนำมาใช้ทำกระดาษได้ ใช้เป็นวัสดุคลุมดิน สำหรับไม้ยืนต้นตามสวนผลไม้ต่างๆ ช่วยลดการสูญเสียความชื้นออกจากผิวดิน และลดการชะล้างหน้าดินในช่วงหน้าฝนได้

ผักกาดน้ำ (Plantain) พรรณไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ลำต้นสูงประมาณ 30 - 50 เซนติเมตร โคนต้นติดอยู่กับดิน รากสั้น แตกแขนงเป็นฝอย เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มักขึ้นตามทุ่งหญ้าพื้นที่โล่งแจ้งที่มีความชุ่มชื้น เจริญ-เติบโตขึ้นซ้อนกันเป็นกอจากใต้ดินคล้ายกับใบผักกาด ลักษณะลำต้นมีสีเขียวอมแดง แผ่นใบมีลักษณะหนาคล้ายกับใบผักคะน้า ขึ้นสลับซ้อนกันรอบต้น และมีดอกเล็กๆ ขึ้นที่ปลายยอดออกดอกเป็นช่อชูขึ้นมาจากกลางกอ และมีดอกย่อยขนาดเล็ก เป็นสีเขียวอ่อนหรือสีน้ำตาล และไม่มีก้านดอก

ประโยชน์ รากนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้กระษัยนำทั้งต้นไปต้มกับน้ำตาลกรวด กินเป็นยาแก้อาการร้อนใน แก้เจ็บคอ ส่วนเมล็ดก็มีสรรพคุณเป็นยาแก้ร้อนในเช่นกัน ใช้ทั้งต้นตำพอกรักษาแผลที่หายยาก ใช้แก้อาการท้องร่วงและท้องเสียได้ แก้โรคเชื้อราที่เท้า ด้วยการใช้ใบสดนำมาบดใส่เกลือห่อผ้าพอกทิ้งไว้

ผักเบี้ยใหญ่ (Purslane) ผักเบี้ยหิน เป็นพืชที่มีอายุเพียงปีเดียว ลำต้นเตี้ยเลื้อยทอดไปตามพื้นดิน บางครั้งปลายตั้งชูขึ้นได้สูงประมาณ 5 - 10 เซนติเมตร แตกกิ่งก้านสาขาแผ่ออกไปลำต้นอวบน้ำเป็นสีเขียวอมแดง ก้านกลม เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ขึ้นได้เองโดยไม่ต้องเพาะปลูกมักขึ้นบริเวณชายฝั่งริมน้ำที่โล่ง ดินทราย ในที่รกร้างทั่วไป ตามริมถนนหรือทางเดิน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ลักษณะคล้ายรูปช้อนปลายใบมนมีรอยเว้าเข้าเล็กน้อย โคนใบเรียวเล็กลงจนไปติดกับลำต้น แผ่นใบหนา ผิวใบเรียบเป็นมัน ด้านหลังใบเป็นสีเขียวแก่ ส่วนท้องใบเป็นสีแดงเข้ม ก้านใบสั้น

ประโยชน์ ต้นใช้กินเป็นผักสด มีประโยชน์ต่อฟันช่วยลดอาการเลือดออกตามไรฟันน้ำคั้นจากใบสดผสมกับน้ำผึ้งและน้ำตาลเป็นยาแก้อาการกระหายน้ำ แก้ไอแห้งใบใช้ตำพอกทาแก้ถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวกอักเสบบวม ต้นใช้รักษาแผลจากแมลงกัดต่อย  โดยคั้นน้ำจากต้นแล้วนำมาทาบริเวณที่ถูกกัด

 

ผักเสี้ยนผี (Asian Spider flower) วัชพืชชนิดนี้เป็นพืชล้มลุกซึ่งในเมืองไทยมีอยู่ 5 สายพันธุ์ ต้นสูงได้ประมาณ 1 เมตร ส่วนต่างๆ ของต้นมีต่อมขนเหนียวสีเหลืองปกคลุมอยู่หนาแน่น มีกลิ่นเหม็น พบได้ทั่วไป ขึ้นได้ตามริมถนนที่รกร้าง หรือตามริมแม่น้ำลำธารใบเป็นใบประกอบมี 3-5 ใบย่อย ก้านใบยาวประมาณ 1-6 เซนติเมตร ใบย่อยมีลักษณะเป็นรูปรี ปลายแหลมหรือมน ขอบใบเรียบมักเป็นสีเดียวกันกับก้านใบ มีผลลักษณะเป็นฝักคล้ายถั่วเขียว แต่มีขนาดเล็กมาก เห็นเส้นเป็นริ้วได้ชัดเจน ในผลมีเมล็ดจำนวนมาก

ประโยชน์ รากใช้ผสมกับเมล็ด ใช้เป็นยาแก้เลือดออกตามไรฟันได้ เมล็ดนำมาต้มหรือชงเป็นชาใช้ดื่มช่วยขับเสมหะได้ทั้งต้นใช้เป็นยาทาภายนอก ช่วยแก้โรคผิวหนังในประเทศจีนและอินเดีย ใช้ผักเสี้ยนผีเป็นสมุนไพรพอกแก้อาการปวดศีรษะและปวดตามข้อ หรือบดเกลือทาแก้อาการปวดหลัง ลดอาการหูอื้อด้วยการใช้ใบผักเสี้ยนผีประมาณ 3 - 4 ใบมาขยี้ให้พอช้ำ  แล้วใช้อุดหูสักพัก อาการก็จะดีขึ้น

หญ้าลูกไก่ (Chick weed) วัชพืชที่ออกดอกหนึ่งดอกต่อหนึ่งต้น มีลักษณะคล้ายดาว กลีบดอกสีขาวแยกออกเป็นแฉกใบเรียวยาว เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 30 เซนติเมตร ดอก ใบ และลำต้น สามารถนำมากินสดกับผักสลัดต่างๆ เพื่อสุขภาพ ใส่ในปริมาณเพียงเล็กน้อยก็พอ

ประโยชน์ มีวิตามิน แร่ธาตุ โอเมก้า 6 โพแทสเซียมแมกนีเซียมและยังช่วยรักษาโรคเก๊าต์  โรคข้อระบบทางเดินหายใจ นำมาทำเป็นยาพอกแผลมีดบาด แผลไฟไหม้ และผดผื่นได้ นำไปตากแห้งทำเป็นชาดื่มช่วยล้างไขมันและขับของเสียออกจากร่างกาย (รับประทานในจำนวนที่เหมาะสม หากมากเกินไปอาจจะเป็นพิษต่อร่างกายของเราได้เช่นกัน) 

การใช้ประโยชน์จากวัชพืชอื่นๆ

ต้นก๋ง ต้นไม้กวาด (https://th.wikipedia.org/wiki/ตองกง)

ตองกง (ชื่อสามัญ: Bamboo grass, ชื่อวิทยาศาสตร์ Thysanoleana maxima Kuntze และชื่อวงศ์ Gramineae) มีชื่ออื่นเช่น ตองกงภาคเหนือ, เค้ยหลา(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เลาแล้ง(สุโขทัย), หญ้ากาบไผ่ใหญ่(เลย), หญ้าไม้กวาด, หญ้ายูง(ยะลา) ซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกับ อ้อ หญ้าขน เดือย ตะไคร้ ข้าว อ้อย ข้าวฟ่าง ข้าวโพด เป็นต้น

ตองกา เป็นหญ้าล้มลุก มีเหง้า เป็นพืชอายุหลายปี หลายฤดู ลำต้นตั้ง เจริญเติบโตแบบอยู่เป็นกอ ที่แข็งแรงมาก ลำต้นคล้ายต้นไผ่ สูงราว 3-4 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นประมาณ 7.6-17.6 มิลลิเมตร

การใช้ประโยชน์

1) นอกจากจะใช้เป็นยาสมุนไพรแล้ว ยังสามารถนำมาใช้ทำเป็นเครื่องจักสารและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ ได้ (เข้าใจว่าคือก้านช่อดอก)

2) ใช้ทำเป็น “ไม้กวาดตองกง” โดยใช้ก้านช่อดอกนำมาตากแห้งนำมามัดกับด้ามไม้ไผ่ใช้ทำเป็นไม้กว??

อาจารย์ผู้สอน