รายละเอียด

การออกแบบเครื่องจักรกล 1 / Mechanical Design 1

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : 31072303
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การออกแบบเครื่องจักรกล 1
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Mechanical Design 1
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

ผู้สอน  ผศ.ดร.ธวัชชัย อุ่นใจจม

เวลาเรียน  วันพฤหัสบดี  เวลา 13.00 น. - 16.00 น. ห้อง คก.1-202

Link เนื้อหารายวิชา

https://drive.google.com/file/d/1148pQvMdyM-5ekFREm8MPwBnM9ViF3Wy/view?usp=sharing

 

รายวิชา - การออกแบบเครื่องจักรกล 1

1. หลักการการออกแบบ
1.1 ปรัชญาของการออกแบบเครื่องจักรกล
1.2 พื้นฐานของผู้ออกแบบเครื่องจักรกล
1.3 ขั้นตอนการออกแบบ
1.4 ระบบหน่วย
1.5 สมบัติทางกลของวัสดุ
1.6 ค่าความปลอดภัย
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

2. คุณสมบัติทางโลหะวิทยาของวัสดุ
2.1 คำนิยาม
2.2 เหล็กเหนียว
2.3 เหล็กหล่อ
2.4 โลหะผสมสำหรับเหล็กกล้า
2.5 เหล็กกล้า
2.6 การให้ชื่อเหล็กกล้าเหนียวของ AISI – SAE
2.7 อลูมิเนียมผสมเหนียว
2.8 อลูมิเนียมผสมหล่อ
2.9 ทองแดงและทองแดงผสม
2.10 แมกนีเซียม
2.11 นิกเกิลและนิกเกิลผสม
2.12 พลาสติก
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

3. การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลพื้นฐาน
3.1 ความเค้นอย่างง่าย
3.2 ความเครียด
3.3 การบิด
3.4 คาน
3.5 ภาชนะความดันผนังบาง
3.6 เสา
3.7 คานโค้ง
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

4. ความเค้นผสมและทฤษฎีความเสียหาย
4.1 ความเค้นผสมในระบบความเค้น 2 มิติ
4.2 ทฤษฎีความเค้นหลักสูงสุด
4.3 ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด
4.4 ทฤษฎีความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัล
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

5. การออกแบบสำหรับการแตกหักเนื่องจากความล้า
5.1 กลไกของความล้า
5.2 ความต้านแรงทนทานและขีดจำกัดความทนทาน5.3 ตัวประกอบของผิว
5.4 ตัวประกอบของขนาด
5.5 ตัวประกอบของแรง
5.6 ตัวประกอบความเค้นหนาแน่น
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

5. การออกแบบสำหรับการแตกหักเนื่องจากความล้า (ต่อ)
5.7 เกณฑ์ของโซเดอร์เบิร์ก
5.8 การแตกหักเนื่องจากความเค้นผสม
5.9 ความต้านแรงชนิดมีอายุการใช้งานจำกัด
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

6. รอยต่อด้วยหมุดย้ำและสลักเกลียว
6.1 การเสียหายของรอยต่อด้วยหมุดย้ำ
6.2 ชนิดของรอยต่อด้วยหมุดย้ำ
6.3 ประสิทธิภาพของรอยต่อด้วยหมุดย้ำ
6.4 การอออกแบบรอยต่อด้วยหมุดย้ำของภาชนะ ความดัน
6.5 การเฉือนในหมุดย้ำและสลักเกลียวเนื่องจากแรงเยื้องศูนย์
6.6 ความเค้นผสมในหมุดย้ำและสลักเกลียว
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

7. การยึดด้วยสลักเกลียว
7.1 แบบของเกลียว
7.2 การให้ชื่อ
7.3 ชนิดของอุปกรณ์ยึดด้วยเกลียว
7.4 อุปกรณ์ล็อค
7.5 สมบัติทางกลของสลักเกลียว
7.6 ความเค้นที่รอยต่อด้วยเกลียว
7.7 การหาความสูงแป้นเกลียวและความยาว
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

สอบกลางภาค
กิจกรรม : สอบ

7. การยึดด้วยสลักเกลียว (ต่อ)
7.6 ความเค้นที่รอยต่อด้วยเกลียว
7.6.1 รอยต่อที่ไม่มีความเครียดหรือไม่มีแรงดึงก่อนใช้งาน
7.6.3 รอยต่อที่มีความเครียดหรือมีแรงดึงก่อนใช้งาน โดยมีแรงภายนอกในแนวแกน
7.6.4 รอยต่อที่มีความเครียดหรือมีแรงดึงก่อนใช้งาน และมีแรงเฉือนจากภายนอก
7.6.5 รอยต่อที่มีความเครียดหรือมีแรงดึงก่อนใช้งานโดยรับแรงเยื้องศูนย์
7.7 การหาความสูงแป้นเกลียวและความยาว

กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

8. สกรูส่งกำลัง
8.1 คำจำกัดความ
8.2 ชนิดของเกลียวสำหรับสกรูส่งกำลัง
8.3 เกลียวในระบบหน่วยอังกฤษ
8.4 เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูมาตรฐานไอเอสโอ
8.5 การให้ชื่อ
8.6 โมเมนต์บิดสำหรับหมุนสกรูส่งกำลัง
8.7 ประสิทธิ์ภาพของสกรูส่งกำลัง
8.8 การล็อคด้วยตัวเอง
8.9 การออกแบบสกรูส่งกำลัง

กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

9. ลิ่มและสลัก
9.1 ชนิดของลิ่ม
9.2 การให้ชื่อลิ่ม
9.3 ความเค้นที่รอยต่อด้วยลิ่ม
9.4 ความเค้นที่รอยต่อด้วยสปลายน์
9.5 สลัก
9.6 ความเค้นที่รอยต่อด้วยสลัก

กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

10. การออกแบบเพลา
10.1 วัสดุเพลา
10.2 ขนาดของเพลา
10.3 การพิจารณาในการออกแบบ
10.4 การออกแบบเพลาตามเกณฑ์ของ ASME
10.5 ความแข็งเกร็งทางด้านการบิด
10.6 การออกแบบเพลาภายใต้แรงเปลี่ยนแปลง
10.7 ความเร็ววิกฤตของเพลา

กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

10. สปริง
13.1 วัสดุสำหรับลวดสปริง
13.2 คุณสมบัติทางกลของขวด
13.3 ความเค้นในสปริงขดรับแรงกด
13.4 การยืดหดของสปริงขด
13.5 ความแข็งตึงของสปริง
13.6 จำนวนขดทำการ
13.7 ระยะยุบตัวใช้งาน
13.8 พลังงานที่เก็บโดยสปริง

กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

10. สปริง (ต่อ)
11.9 การออกแบบสปริงขดรับแรงกด
11.10 การออกแบบสปริงขดโดยคิดให้แรงอยู่นิ่ง
11.11 เสิร์จในสปริง
11.12 การโก่งงอของสปริงขด
11.13 การตกกระแทกของวัสดุบนสปริงขด
11.14 การใช้สปริงขดซ้อนกัน
11.15 การออกแบบสปริงขดภายใต้แรงเปลี่ยนแปลง
11.16 สปริงขดแบบดึง
11.17 สปริงขดแบบบิด
11.18 สปริงแผ่น
11.19 สปริงแหวน

กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

ทบทวนเนื้อหารายวิชา และเทอมโปรเจค
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบ

อาจารย์ผู้สอน