รายละเอียด

กลศาสตร์วัสดุ / Mechanics of Materials

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGME105
  • ชื่อรายวิชา(TH) : กลศาสตร์วัสดุ
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Mechanics of Materials
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

ผู้สอน ผศ.ดร.ธวัชชัย อุ่นใจจม

Sec1_วันจันทร์ เวลา 12.00 น. - 15.00 น. ห้อง คก.1-301

Sec2_วันศุกร์ เวลา 12.00 น. - 15.00 น. ห้อง คก.1-202

Link เนื้อหารายวิชา

https://drive.google.com/file/d/1UFiYmgRUh7l-MvLKbgnJIP9zQ8g2bDfX/view?usp=sharing

Link ห้องเรียนออนไลน์ ใน MS Team

Sec1   https://teams.microsoft.com/l/team/19%3ad7d40042beeb4d6fae84c2b4d24d3e97%40thread.tacv2/conversations?groupId=cdb90d1d-d72f-4c51-aced-8f8f9b38957f&tenantId=2c0a3819-8c66-4ae1-9a99-3832d9facbd9

Sec2  https://teams.microsoft.com/l/team/19%3a510e32beec9743e6a71a9cdc8569c3d6%40thread.tacv2/conversations?groupId=ccf9e616-4206-4498-ba98-39baa378645f&tenantId=2c0a3819-8c66-4ae1-9a99-3832d9facbd9

 

 

รายวิชา - กลศาสตร์วัสดุ

1. แรง ความเค้น และความเครียด
1.1 ชนิดของแรง
1.2 ความเค้นฉากและความเค้นเฉือน
1.3 ความเครียดฉากและความเครียดเฉือน
1.4 แผนภาพความเค้นและความเครียด
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

1. แรง ความเค้น และความเครียด (ต่อ)
1.5 กฏของฮุค
1.6 อัตราส่วนปัวชอง
1.7 กฏของฮุคแบบทั่วไป
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

2. การประยุกต์ความเค้นและความเครียดเบื้องต้น
2.1 ความเค้นในโครงสร้าง
2.2 ความเค้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
2.3 ความเค้นของภาชนะความดันผนังบางและหมุดย้ำ
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

3. การบิด
3.1 การผิดรูปเชิงมุมของเพลากลม
3.2 ความเค้นเฉือนของเพลากลม
3.3 มุมบิดของเพลากลม
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

3. การบิด (ต่อ)
3.4 การบิดเพลาเชิงประกอบ
3.5 การบิดวัตถุหน้าตัดไม่กลม
3.6 การบิดท่อกลวงผนังบาง
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

4. แรงเฉือนและโมเมนต์ดัดในคาน
4.1 ลักษณะการรองรับและประเภทของคาน
4.2 ชนิดของภาระที่กระทำกับคาน
4.3 แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
4.4 ความสัมพันธ์ของภาระกระทำแรงเฉือน และโมเมนต์ดัด
4.5 แผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

5. ความเค้นดัดในคาน
5.1 สมมติฐานในการหาค่าความเค้นดัดในคาน
5.2 ตำแหน่งของแกนสะเทินและโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่
5.3 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ดัดและความเค้นดัด
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

6. ความเฉือนในคาน
6.1 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงเฉือนและความเค้นเฉือน
6.2 กระแสแรงเฉือน(shear flow)
6.3 จุดศูนย์กลางแรงเฉือน
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

สอบกลางภาคเรียน
กิจกรรม : สอบกลางภาคเรียน

7. การแอ่นของคาน
7.1 เงื่อนไขขอบ
7.2 สมการเชิงอนุพันธ์ของการแอ่นตัว
7.3 ระยะแอ่นตัวโดยวิธีปริพันธ์สองชั้น
7.4 ระยะแอ่นตัวโดยวิธีพื้นที่โมเมนต์
7.4 ระยะแอ่นตัวโดยวิธีซ้อนทับ
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

8. การวิเคราะห์ปัญหาที่หาค่าไม่ได้ทางสถิตศาสตร์
8.1 โครงสร้างทั่วไปที่หาค่าไม่ได้ทางสถิตศาสตร์
8.2 การบิดเพลาที่หาค่าไม่ได้ทางสถิตศาสตร์
8.3 คานรองรับแบบปลายด้านหนึ่งยึดแน่นส่วนปลายอีกด้านหนึ่งเป็นแบบค้ายัน
8.4 คานรองรับแบบปลายยึดแน่นทั้งสองข้าง
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

9. คานต่อเนื่อง
9.1 รูปทั่วไปของสมการสามโมเมนต์
9.2 แรงปฏิกิริยาของคานต่อเนื่อง
9.3 ระยะแอ่นตัวของคานต่อเนื่อง
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

10. การโก่งของเสา
10.1 เสถียรภาพของเสา
10.2 เสายาวโดยสูตรของออยเลอร์
10.3 ขีดจากัดของสูตรออยเลอร์
10.4 เสายาวปานกลางและเสาสั้น
10.5 เสาภายใต้ภาระเยื้องศูนย์
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

11. ความเค้นผสมและวงกลมของโมร์
11.1 นิยามของความเค้นผสม
11.2 การแปลงความเค้นระนาบ
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

11. ความเค้นผสมและวงกลมของโมร์ (ต่อ)
11.3 ความเค้นหลักและความเค้นเฉือนสูงสุด
11.4 การวิเคราะห์ความเค้นด้วยวงกลมของโมร์
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

12. หลักการการเสียหาย
12.1 ทฤษฏีความเค้นหลักสูงสุด
12.2 ทฤษฏีความเค้นเฉือนสูงสุด
12.3 ทฤษฏีความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัล
กิจกรรม : บรรยายประกอบตัวอย่างและใช้สื่อประสม

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบปลายภาค

อาจารย์ผู้สอน