รายละเอียด

วงจรอิเล็กทรอนิกส์ 1 / Electronic Circuits 1

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : TEDEE201
  • ชื่อรายวิชา(TH) : วงจรอิเล็กทรอนิกส์ 1
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Electronic Circuits 1
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2564

รายละเอียด

วิชานี้เรียนตามตารางสอน ตามสถานที่ ที่ระบุในตารางเรียน โดยในระหว่างนี้สามารถพบกันผ่านระบบ On line ได้ที่ Microsoft Teams: 

https://teams.microsoft.com/l/team/19%3a871d7c73df434e87821f528f124e2b34%40thread.tacv2/conversations?groupId=2155cec5-d47d-4997-a584-d1c81f04678a&tenantId=2c0a3819-8c66-4ae1-9a99-3832d9facbd9

รายวิชา - วงจรอิเล็กทรอนิกส์ 1

T) แนะนำรายวิชาและเกณฑ์การเก็บคะแนน
ทบทวนกฎและทฤษฎีพื้นฐานทางไฟฟ้า
- แนะนำรายวิชาและเกณฑ์การเก็บคะแนน
- แหล่งจ่าย (Source)
- กฎของโอห์ม (Ohm’s Law)
- กฎของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchhoff ’s Law)
- ทฤษฏีเทวินิน (Thevenin’s Theorem)
- ทฤษฏีนอร์ตัน (Norton’s Theorem)

P) แนะนำเครื่องมือและการใช้งาน การดูแลรักษาเครื่องมือ และกฎกติกาในการใช้งานห้องปฏิบัติการ
กิจกรรม : T)
- บรรยายแนะนำรายวิชา โดยใช้ สื่อ Power Point
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) สาธิตการใช้เครื่องมือในห้องปฏิบัติการ

T) การใช้โปรแกรมช่วยในการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์
- แนะนำโปรแกรมการเลียนแบบการทำงานของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
- การวาดวงจร
- ชนิดของการวิเคราะห์
- การนำเสนอผลการทดสอบของโปรแกรม
P) ปฏิบัติการใช้โปรแกรมช่วยในการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรม : T) บรรยาย สาธิตการใช้งานโปรแกรมช่วยจำลองการทำงาน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การวิเคราะห์วงจรด้วยระบบพารามิเตอร์ข่ายวงจร 2 ขั้ว
- ลักษณะของข่ายวงจร 2 พอร์ต
- ข่ายวงจรแบบ Z, Y, h, G, F
- ความสัมพันธ์ของข่ายวงจรแบบต่างๆ
- การต่อข่ายวงจร
P) ปฏิบัติการข่ายวงจร 2 ขั้วและระบบพารามิเตอร์
กิจกรรม : T) บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์ขยายสัญญาณ
- ชนิดของวงจรสมมูล
- การเขียนวงจรทรานซิสเตอร์ด้วย re model, hybrid parameter model และhybrid-p parameter model แบบ
- วงจรเบสร่วม
- วงจรอิมิตเตอร์ร่วม
- วงจรคอลเลกเตอร์ร่วม
P) ปฏิบัติการออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์ขยายสัญญาณ : วงจรแบบ Common Emitter (CE.)
กิจกรรม : T)
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้ให้นักศึกษาทราบ
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Flipped classroom และ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์ขยายสัญญาณ (ต่อ)
- การเขียนวงจรทรานซิสเตอร์ด้วย re model, hybrid parameter model และhybrid-p parameter model แบบ
- วงจรเบสร่วม
- วงจรอิมิตเตอร์ร่วม
- วงจรคอลเลกเตอร์ร่วม
P) ปฏิบัติการออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์ขยายสัญญาณ (ต่อ) : วงจรแบบ Common Base (CB.) และแบบ Common Collector (CC.)

กิจกรรม : T)
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้าขยายสัญญาณ
- วงจร MOSFET ขยายสัญญาณ
- วงจรขยายแบบซอสซ์ร่วม
- วงจรขยายแบบเดรนร่วม
- วงจรขยายแบบเกตร่วม
P) ปฏิบัติการออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้าขยายสัญญาณ : วงจรแบบ Common Source (CS.)
กิจกรรม : T)
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้าขยายสัญญาณ (ต่อ)
- วงจร JFET ขยายสัญญาณ
- วงจรขยายแบบซอสซ์ร่วม
- วงจรขยายแบบเดรนร่วม
- วงจรขยายแบบเกตร่วม
P) ปฏิบัติการออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้าขยายสัญญาณ (ต่อ) : วงจรแบบ Common Gate (CG.) และแบบ Common Drain (CD.)
กิจกรรม : T)
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การออกแบบและวิเคราะห์วงจรขยายสัญญาณหลายภาค
- วงจรทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์ขยายสัญญาณ
- วงจรทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้าขยายสัญญาณ
P) ปฏิบัติการออกแบบและวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์และทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้าขยายสัญญาณหลายภาค
กิจกรรม : T) บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

สอบกลางภาค
- การนำเสนอเอกสารหลักการจัดทำ Term Project

กิจกรรม : -

T) การวิเคราะห์ผลตอบสนองเชิงความถี่ของวงจรขยายสัญญาณ
- การตอบสนองความถี่ต่ำและสูงของวงจร RC อันดับ 1
- เดซิเบลและการพล๊อตกราฟลอกการิธึม
- การตอบสนองความถี่ต่ำของวงจรขยายทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์
- Miller Effect และ Miller Capacitance
- การตอบสนองความถี่สูงของวงจรขยายทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์
P) ปฏิบัติการวิเคราะห์ผลตอบสนองเชิงความถี่ของวงจรทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์ขยายสัญญาณ
กิจกรรม : T) บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การวิเคราะห์ผลตอบสนองเชิงความถี่ของวงจรขยายสัญญาณ
- การตอบสนองความถี่ต่ำของวงจรขยายทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
- Miller Effect และ Miller Capacitance
- การตอบสนองความถี่สูงของวงจรขยายทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
P) ปฏิบัติการวิเคราะห์ผลตอบสนองเชิงความถี่ของวงจรทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้าขยายสัญญาณ
กิจกรรม : T) บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การออกแบบและวิเคราะห์วงจรขยายกำลัง
- ทรานซิสเตอร์ขยายกำลัง
- คลาสของวงจรขยายกำลัง
- วงจรขยายกำลังคลาสต่างๆ
P) ปฏิบัติการออกแบบและวิเคราะห์วงจรขยายกำลัง
กิจกรรม : T)
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) วงจรขยายความแตกต่างและวงจรขยายเครื่องมือวัด
- โหมดการทำงานของวงจร
- วงจรขยายผลต่างของทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์
- วงจรขยายผลต่างของทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
- วงจรขยายผลต่างของออปแอมป์และวงจรขยายเครื่องมือวัด
P) ปฏิบัติการวงจรขยายความแตกต่างและวงจรขยายเครื่องมือวัด
กิจกรรม : T)
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) หลักการพื้นฐานวงจรรวม
- วงจรแหล่งจ่ายกระแสคงที่
- วงจรขยายแหล่งจ่ายกระแสคงที่
P) ปฏิบัติการหลักการพื้นฐานวงจรรวม
กิจกรรม : T) บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) การออกแบบและวิเคราะห์วงจรสวิตช์ของทรานซิสเตอร์
- วงจรสวิตช์ของทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์
- วงจรสวิตช์ของทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
P) ปฏิบัติการออกแบบและวิเคราะห์วงจรสวิตช์ของทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์และทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
กิจกรรม : T)
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

T) วงจรมัลติไวเบรเตอร์
- วงจรภายในไอซี Timer 555
- วงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์
- วงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์
- วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์
P) ปฏิบัติการออกแบบและวิเคราะห์วงจรวงจรมัลติไวเบรเตอร์
กิจกรรม : T)
- แจ้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาในหน่วยนี้
- กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยเทคนิคแบบ Collaborative Team
Learning
- บรรยายสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ Power Point
P) บรรยายหัวงานและตรวจผลการทดลองตามใบปฏิบัติการทดลอง

สอบปลายภาค
- การทดสอบ Term Project และนำเสนอผลงาน

กิจกรรม : -

อาจารย์ผู้สอน