รายละเอียด

ปฐพีกลศาสตร์ / Soil Mechanics

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGCV201
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ปฐพีกลศาสตร์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Soil Mechanics
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

วิชา Soil Mechanics

รายวิชา - ปฐพีกลศาสตร์

หน่วยที่ 1 การเกิดของดิน ลักษณะและส่วนประกอบของดิน
1.1 การเกิดของดิน
1.1.1 ประวัติและที่มาของวิชาปฐพีกลศาสตร์
1.1.2 งานทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวข้องกับดิน
1.1.3 การกำเนิดของดิน
1.2 ลักษณะรูปร่างและโครงสร้างของดิน
1.2.1 ลักษณะรูปร่างของเม็ดดิน
1.2.2 ลักษณะโครงสร้างของดิน

กิจกรรม : - แจ้งเกณฑ์ความรู้วิชาปฐพีกลศาสตร์และการทดสอบ
-เกณฑ์ของสภาวิศวกรเพื่อขอรับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
-แจ้งเอกสารประกอบการสอน
-แจ้งการทดสอบ การให้คะแนน
-แจ้งกติกา ในการเรียนการสอน
-บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ

1.3 คุณสมบัติพื้นฐานทางวิศวกรรมของดิน
1.3.1 ส่วนประกอบของดิน
1.3.2 คุณสมบัติทางด้านวิศวกรรมของดิน

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ

หน่วยที่ 2 การจำแนกประเภทดินทางวิศวกรรม
2.1 การจำแนกประเภทตามขนาดของเม็ดดิน
2.1.1 วิธีการหาขนาดของเม็ดดิน
2.1.2 การจำแนกดินตามขนาดของเม็ดดิน
2.1.3 ส่วนขนาดคละของเม็ดดิน
2.2 การจำแนกสภาพของดินตามปริมาณน้ำในดิน
2.2.1 สถานภาพของดิน
2.2.2 จุดแบ่งสถานภาพของดิน

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ

2.3 การจำแนกประเภทของดินตามมาตรฐานต่าง ๆ
2.3.1 การจำแนกประเภทของดินโดยอาศัย แผนภูมิสามเหลี่ยม
2.3.2 การจำแนกประเภทของดินตามระบบUNIFIED
2.3.3 การจำแนกประเภทของดินตามระบบASSHTO

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้

หน่วยที่ 3 ความซึมได้ของน้ำและการไหลของน้ำในมวลดิน หน่วยแรงในดิน
3.1 ความซึมได้ของน้ำ
3.1.1 กฎของ Darcy
3.1.2 พลังงานจากการไหลของน้ำ(Head)
3.1.3 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ในห้องปฏิบัติการ
3.1.4 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ในสนาม
3.1.5 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ใน กรณีดินหลาย ๆ ชั้น
3.1.6 Critical Hydraulic gradient

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบอภิปรายการนำไปใช้

3.3 ตาข่ายการไหลของน้ำในดิน
3.3.1 การเขียนตาข่ายการไหลของน้ำ ของชั้น ดินและเขื่อนดิน
3.3.2 ปริมาณน้ำที่ซึมผ่านชั้นดินจากตาข่ายการไหลของน้ำ
3.3.3 ความดันยกขึ้น (Uplift pressure) จากตาข่ายการไหลของน้ำ
3.2 หน่วยแรงในดิน
3.2.1 หน่วยแรงรวมของดิน
3.2.2 หน่วยแรงประสิทธิผลของดิน
3.2.3 กรณีทรายดูด (Quick Condition)

กิจกรรม : -ทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำความรู้ไป ใช้จริง

หน่วยที่ 4 การหากำลังรับแรงเฉือน หน่วยแรง และความเครียดของดินที่มีความเชื่อมแน่น และไม่มีความเชื่อมแน่น
4.1 คุณสมบัติในการรับแรงเฉือนของดินที่มี ความเชื่อมแน่นและไม่มีความเชื่อมแน่น
4.1.1 กฎของ คูลอมบ์
4.1.2 ระนาบการพิบัติของดิน
4.2 กำลังต้านทานต่อแรงเฉือนของดินที่มี ความเชื่อมแน่นและไม่มีความเชื่อมแน่น
4.2.1 กำลังต้านทานต่อแรงเฉือนของดินในห้องปฏิบัติการ
4.2.2 กำลังต้านทานต่อแรงเฉือนของดินในสนาม

กิจกรรม : แนะนำบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ใน วิชาวิศวกรรมฐานรากต่อไป

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

4.3 หน่วยแรงและความเครียด
4.3.1 ลักษณะการเกิดหน่วยแรงและ ความเครียด
4.3.2 Normal stress และ Shear stress
4.3.3 การเขียน Stress path
4.4 การกระจายหน่วยแรงในมวลดิน
4.4.1 หน่วยแรงในมวลดินโดยวิธีประมาณ
4.4.2 หน่วยแรงในมวลดินเมื่อมีน้ำหนักกระทำแบบจุด
4.4.3 หน่วยแรงในมวลดินเมื่อมีน้ำหนักแผ่ กระจาย
4.4.4 หน่วยแรงในมวลดินโดยวิธีกราฟฟิกของ New mark’s chart



กิจกรรม : แนะนำบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ใน วิชาวิศวกรรมฐานรากต่อไป

หน่วยที่ 5 การยุบอัดตัวคายน้ำและการทรุด
ตัวของดิน
5.1 การยุบอัดตัวของดิน
5.1.1 ทฤษฎีของการยุบอัดตัวของดิน
5.1.2 การทดสอบการยุบอัดตัวของดิน
5.1.3 ค่าที่ได้จากการทดสอบการยุบตัวของดิน
5.1.4 การกำหนดแรงเค้นในอดีต

กิจกรรม : -แนะนำบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้

5.1.5 การกำหนดค่าพารามิเตอร์จากห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการคำนวณการทรุดตัว ของชั้นดิน
5.1.6 การหาอัตราการยุบตัว จากผลการ ทดสอบในห้องปฏิบัติการ
5.1.7 ความสัมพันธ์ของการทำนายการทรุดตัว และเวลาในการทรุดของผลการทดสอบและ ชั้นดินต้นแบบ

กิจกรรม : -แนะนำบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้

หน่วยที่ 6 วิธีเจาะสำรวจและเก็บตัวอย่างดิน
6.1 วิธีการวางแผนการสำรวจชั้นดินและการ เลือกจำนวนหลุมเจาะ
6.1.1 การวางแผนการสำรวจชั้นดิน
6.1.2 การเลือกจำนวนหลุมเจาะและความลึก ของการเจาะสำรวจสำหรับงานประเภทต่าง ๆ
6.2 การเจาะสำรวจดิน
6.2.1 วิธีการเจาะสำรวจดินและเครื่องมือที่ใช้ ในการเจาะสำรวจ
6.2.2 ชนิดของตัวอย่างดินและอุปกรณ์ที่ใช้ใน การเก็บตัวอย่างดิน
6.2.3 การบันทึกข้อมูลและเขียนรายงาน


กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้

หน่วยที่ 7 การบดอัดดิน
7.1 การบดอัดดินในห้องปฏิบัติการ
7.1.1 ทฤษฎีการบดอัดดิน
7.1.2 มาตรฐานการบดอัดดินใน ห้องปฏิบัติการ
7.1.3 ผลของการบดอัดดินต่อคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดิน
7.2 การบดอัดดินในสนาม
7.2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการบดอัดดินในสนาม
7.2.2 การหาความหนาแน่นนของดินในสนาม

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้

หน่วยที่ 8 เสถียรภาพความลาดชัน
8.1 เสถียรภาพของความลาด
8.1.1 ทฤษฎีเสถียรภาพของความลาด
8.1.2 รูปแบบ และสาเหตุการพิบัติ
8.1.2.1 รูปแบบการพิบัติ
8.1.2.2 สาเหตุของการพิบัติ
8.1.3 การป้องกันการพิบัติของความลาด
8.2 การคำนวณหาค่าเสถียรภาพของความลาด กรณีดินที่ไม่มีแรงเสียดทานภายใน
8.3 การคำนวณเสถียรภาพของความลาดกรณีดินมีแรงเสียดทาน

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้

หน่วยที่ 9 กำลังรับน้ำหนักของดิน
9.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการรับน้ำหนัก
ของดิน
9.1.1 รูปแบบการพิบัติของดิน
9.1.2 การกระจายของหน่วยแรงใต้ฐานราก
9.2 กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดิน
9.2.1 องค์ประกอบที่มีผลต่อกำลังรับ
น้ำหนักของดิน
9.2.2 กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดิน โดยทฤษฎีของเทอร์ซากิ

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้

หน่วยที่ 10 แรงดันด้านข้างของดิน
10.1 วิเคราะห์เกี่ยวกับแรงดันด้านข้างของดิน
10.1.1 อธิบายทฤษฎีแรงดันด้านข้างของดิน
10.1.2 วิเคราะห์หาแรงดันด้านข้างแบบแอ๊คทีฟ
10.1.3 วิเคราะห์หาแรงดันด้านข้างของดิน แบบแอ๊คทีฟ
10.1.3.1 หน่วยแรงกระทำด้านข้างแบบแอ๊คทีฟประเภทดินทราย
10.1.3.2 หน่วยแรงกระทำด้านข้างแบบแอ๊คทีฟ ประเภทดินที่มีทั้งความเชื่อมแน่น และแรงเสียดทาน
10.1.4 วิเคราะห์หาแรงดันด้านข้างของดิน แบบแพสซีฟ
10.1.4.1 หน่วยแรงกระทำด้านข้างแบบแพสซีฟ ประเภทดินทราย
10.1.4.2 หน่วยแรงกระทำด้านข้างแบบแพสซีฟ ประเภทดินที่มีทั้งความเชื่อมแน่น และแรงเสียดทาน

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน