รายละเอียด

ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง / Advanced Database Systems

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 46 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BBAIS109
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Advanced Database Systems
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

การเข้าร่วมห้องเรียน ขอให้นักศึกษาดาวน์โหลด MS Teams App. ลงในสมาร์ทโฟน หรือ เครื่อง PC หรือ Notebook ของตนเอง จากนั้นให้ดำเนินการดังนี้

1. เข้าร่วมทีมด้วย Team code นี้

2pog6pp  -> สำหรับ BBAIS109_SEC_1 เรียน อังคารเช้า

x97u4xe  -> สำหรับ BBAIS109_SEC_2 เรียน ศุกร์บ่าย


*** หลังจากเข้าร่วมทีม นักศึกษาสามารถติดต่อสอบถามอาจารย์ได้เลยในทีมโดยการโพสข้อความคำถามใน Channel General ***

รายวิชา - ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง

ชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชาและความรู้ กฎระเบียบ การวัดประเมินผล และประโยชน์ของรายวิชา
กิจกรรม : บรรยายชี้แจงรายละเอียดวิชาเงื่อนไข วิชา เกณฑ์คะแนน และมอบหมายงาน
สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย แบบทดสอบก่อนเรียน
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 1 การออกแบบฐานข้อมูล วัฎจักรการพัฒนาระบบ วัฏจักรฐานข้อมูล เครื่องมือสนับสนุนการพัฒนา

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 2 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ โครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ รีเลชัน แอตทริบิวต์ คีย์และประเภทของคีย์ รูปแบบความสัมพันธ์ภายในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กฏควบคุมความถูกต้องข้อมูล กฏควบคุมความถูกต้องของเอนทิตี้ กกความคุมความถูกต้องของการอ้างอิง ปฏิบัติการสร้างกฏควบคุมการความถูกต้องของข้อมูล พิชคณิตแบบสัมพันธ์ Insert / Update / Delete Selection / Projection / Join / Division / Union / Intersection / Deference / Cartesian Product

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 3 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลด้วย ER-Model ความหมายของสัญญลักษณ์ต่างๆ ของ ER-Model การมีส่วนร่วมในความสัมพันธ์ วิธีการสร้าง ER-Diagram เอนทิตี้ซูเปอร์ไทป์และสับไทป์ การแปลง ER-Diagram เป็นตาราง กรณีศึกษาของการออกแบบฐานข้อมูลด้วย ER-Model เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาและออกแบบฐานข้อมูล

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 3 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล (ต่อ) การออกแบบฐานข้อมูลให้เป็นบรรทัดฐาน(Normalization) ปัญหาการจัดการฐานข้อมูล (Anomalies) ประเภทของความสัมพันธ์ระหว่างแอตทริบิวต์ในรีเลชัน Partial Dependency Transitive Dependency การวิเคราะห์และการจัดการข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน (Normalization) นอร์มัลฟอร์มระดับที่ 1- 3 การวิเคราะห์และการจัดข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐานแบบบอยซ์คอดด์ การวิเคราะห์และการจัดทำข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน นอร์มัลฟอร์มระดับที่ 4-5 ข้อควรคำนึงในการจัดทำนอร์ มัลไลเซชันและการดีมัลไชเซชัน กรณีศึกษา กรณีศึกษาของการออกแบบฐานข้อมูลด้วย ER-Model

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 4 ภาษาเอสคิวแอล โครงสร้างภาษาเอสคิวแอล ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล (DDL) การสร้าง แก้ไข ลบ ตาราง การสร้าง และการ ลบวิว การสรางและการลบดัชนี ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (DML) หน้าที่ของภาษาจัดการข้อมูล การบันทึกข้อมูล (Inset) การปรับปรุงข้อมูล (Update) การลบข้อมูล (Delete) การเรียกค้นข้อมูล (Select)

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 4 ภาษาเอสคิวแอล ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (DML) หน้าที่ของภาษาจัดการข้อมูล การบันทึกข้อมูล (Inset) การปรับปรุงข้อมูล (Update) การลบข้อมูล (Delete) การเรียกค้นข้อมูล (Select)

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

- ทบทวนเนื้อหาก่อนสอบกลางภาค
- สอบเก็บคะแนนย่อยก่อนสอบกลางภาคเรียน แบบ Online
กิจกรรม : - ทบทวนเนื้อหาก่อนสอบกลางภาค
- แบบทดสอบเก็บคะแนนย่อยก่อนสอบกลางภาคเรียน แบบ Online

สอบเก็บคะแนนกลางภาค Online
กิจกรรม : แบบทดสอบกลางภาค Online ด้วย Moodle for Education

บทที่ 5 ภาษาเอสคิวแอลขั้นสูง การเรียกดูข้อมูลมากกว่า 1 ตาราง โดยการ Join แบบต่างๆ การสร้าง view การเรียกดู้ข้อมูลแบบซ้อนหลายระดับ(Subqueries) การใช้ SQL Function ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร การคำนวณ วันที่เวลา และการสรุปค่าของข้อมูล การจัดการกลุ่มข้อมูลด้วย Group By การกรองข้อมูลที่มีเงื่อนไขด้วย Having ภาษาควบคุมข้อมูล (DCL) การกำหนดสิทธิการเข้าถึงข้อมูล การยกเลิกสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูล การใช้งาน Transaction Command คำสั่ง Commit / Save Point / Rollback

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 5 ภาษาเอสคิวแอลขั้นสูง (ต่อ) การใช้งาน Stored Procedure การเขียน Store Procedure แบบ Input Parameter การเขียน Store Procedure แบบ OutPut Parameter การเขียน Store Procedure แบบ Input And Output Parameter การประยุตก์ระบบฐานข้อมูลในการพัฒนาซอฟต์แวร์ทางธุรกิจ

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 6 การปรับจูนประสิทธิภาพการทำงานของฐานข้อมูล แนวความคิดของการปรับจูนประสิทธิภาพฐานข้อมูล การปรับจูนประสิทธิภาพภายใต้ client และ server สถาปัตยกรรมของระบบจัดการฐานข้อมูล สถิติต่างๆของฐานข้อมูล การเพิ่มประสิทธิภาพการสร้างดัชนีและการประมวลผลคิวรี Hash index B-tree index Bitmap index ทางเลือกในการปรับปรุงประสิทธิภาพการประมวลผลคิวรี Rule-based optimizer Cost-based optimizer การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของคำสั่ง SQL การเลือกแอทริบิวต์สำหรับการสร้างดัชนี การกำหนดเงื่อนไขในคิวรี

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 7 ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย วิวัฒนาการของระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย การประมวลผลแบบกระจายกับฐานข้อมูลและฐานข้อมูลแบบกระจาย คุณลักษณะและส่วนประกอบของระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย ระดับของข้อมูลและระดับของการประมวลผลแบบกระจาย Single-site Processing, Single-site Data Multiple-site Processing, Single-site Data Multiple-site Processing, Multiple-site Data การออกแบบฐานข้อมูลแบบกระจาย การแบ่งส่วนฐานข้อมูล Data replication Data allocation

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 8 การบริหารระบบฐานข้อมูล หลักการบริหารระบบฐานข้อมูล การจัดรายการเปลี่ยนแปลง การฟื้นสภาพของข้อมูล การควบคุมภาวะพร้อมกัน การรักษาความปลอดภัยของระบบฐานข้อมูล ปฏิบัติ การสร้าง Login และ User การสร้างและจัดการกลุ่มสิทธิ์(Permission Rule) การ Import – Export ข้อมูล การ Backup และ Restore ฐานข้อมูล

กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

บทที่ 9 เทคโนโลยีการจัดการข้อมูลแบบใหม่ด้วย NoSQL Database ความรู้พื้นฐาน NoSQL Database Key-Value Databases Column-Family Databases Document Databases Graph Databases ข้อดี-ข้อเสีย NoSQL Database ปฏิบัติการใช้งาน NoSQL Database เช่น MongoDB
กิจกรรม : บรรยาย นักศึกษานำเสนองาน มอบหมายงาน สื่อที่ใช้: สไลด์บรรยาย สื่อมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการสอน และแบบฝึกหัด
- สื่อการสอนออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Microsoft Teams และ/หรือ Moodle for Education เป็นต้น (สำหรับช่วงที่ยังมีประกาศภาวะฉุกเฉิน COVID-19)

- นำเสนอโครงงานกลุ่มที่รับมอบหมาย และ/หรือ
- รับฟังบรรยายพิเศษจากอาจารย์ภายนอกหลักสูตร (ถ้ามี)
- ทบทวนเนื้อหาก่อนสอบปลายภาคเรียน
- สอบเก็บคะแนนปลายภาคแบบ Online ด้วย Moodle for Education
กิจกรรม : - นำเสนองาน และ/หรือ รับฟังบรรยายพิเศษจากอาจารย์ภายนอกหลักสูตร (ถ้ามี)
- แบบทดสอบกลางภาค Online ด้วย Moodle for Education

สอบเก็บคะแนนปลายภาค ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
กิจกรรม : แบบทดสอบปลายภาค ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

อาจารย์ผู้สอน