รายละเอียด
การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น / Auditing and Assurance
- 17 สัปดาห์
- จำนวนนักศึกษา 0 คน
- อาจารย์ผู้สอน 1 คน
ข้อมูลรายวิชา
- รหัสรายวิชา : BACAC135
- ชื่อรายวิชา(TH) : การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
- ชื่อรายวิชา (EN) : Auditing and Assurance
- เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563
รายละเอียด
เทสๆ
รายวิชา - การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
ภาพรวมวิชาชีพสอบบัญชี
- ความต้องการเชิงเศรษฐกิจสำหรับการสอบบัญชีและพัฒนาการสำคัญของวิชาชีพสอบบัญชี
- แม่บทการให้บริการความเชื่อมั่น
- ความหมายของการสอบบัญชี
- ประเภทของผู้ตรวจสอบ
- ข้อปฏิบัติในการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
กิจกรรม : - แบบทดสอบก่อนเข้าชั้นเรียนเพื่อทดสอบว่านักศึกษารู้จักวิชาชีพสอบบัญชีมากน้อยเพียงใด
- บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา “บริษัท ยิ่งนรา กับป้าทุบรถ”
- บทบาทและหน้าที่ของผู้สอบบัญชีและผู้ทำบัญชี
- วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี
- ความแตกต่างระหว่างการสอบบัญชีและการบัญชี
- กระบวนการสอบบัญชี
- ความรับผิดชอบต่องบการเงินของฝ่ายบริหาร
- ความรับผิดชอบทางวิชาชีพของผู้สอบบัญชี
- ความรับผิดชอบต่อการทุจริตและไม่ปฏิบัติตามกฎหมายของกิจการ
- หลักการพื้นฐานของการตรวจสอบงบการเงิน
- ข้อจำกัดของการตรวจสอบงบการเงิน
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- ให้นักศึกษาค้นหาข่าวเกี่ยวกับการตกแต่งงบการเงินให้ตลาดหลักทรัพย์และนำมาวิเคราะห์ว่าผู้สอบบัญชีต้องรับผิดชอบหรือไม่
- มอบหมายกรณีศึกษา “บริษัท ยิ่งนรา กับป้าทุบรถ”
สภาพแวดล้อมและกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพสอบบัญชี
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี และการสอบบัญชี
- สถาบันการสอบบัญชีในประเทศไทยและต่างประเทศ
- จรรยาบรรณของวิชาชีพสอบบัญชี
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- แบบทดสอบท้ายบทเรียนเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
- มอบหมายให้จัดทำ คลิปวิดีโอเพื่อนำเสนอความเข้าใจเรื่องจรรยาบรรณ
หลักฐานการสอบบัญชีและวิธีการตรวจสอบ
- ความหมายประเภทและคุณสมบัติของหลักฐานการสอบบัญชี
- การตัดสินใจเกี่ยวกับหลักฐานการสอบบัญชี
- ความสัมพันธ์ของวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบกับหลักฐานการสอบบัญชี
- สิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้เกี่ยวกับงบการเงิน
- วิธีการได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชี
- ประเภทของการตรวจสอบ
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- ให้นักศึกษาส่งตัวแทนกลุ่มแข่งขันตอบคำถามท้ายบทเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมหน้าชั้นเรียน
- มอบหมายกรณีศึกษาเกี่ยวกับการประเมินหลักฐานการสอบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์
การวางแผนงานสอบบัญชี
- ความหมายและประโยชน์ของการวางแผนงานสอบบัญชี
- ขั้นตอนการวางแผนงานสอบบัญชี
- การพิจารณารับงานสอบบัญชีช่วงต้น
- คณะกรรมการตรวจสอบและการใช้ผลงานของผู้อื่น
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- กิจกรรมในชั้นเรียนให้นักศึกษาทดลองจัดทำแผนการสอบบัญชีจากข้อมูลที่อาจารย์กำหนดให้
- มอบหมายงานกลุ่มสำหรับบทเรียนที่ 4-6 ให้จัดทำแผนการสอบบัญชี แบบประเมินความเสี่ยง สำหรับธุรกิจขนาดย่อม กรณีศึกษาบริษัท ชีวาม จำกัด
ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการควบคุมภายใน
- ความเสี่ยงในการสอบบัญชี
- แนวคิดการควบคุมภายในของ COSO
- การประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม
- การทดสอบการควบคุม
- การรายงานจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายใน
- การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม (Audit plan) และแนวการสอบบัญชี (Audit Program)
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- กิจกรรมในชั้นเรียนให้นักศึกษาทดลองจัดทำแผนการสอบบัญชีจากข้อมูลที่อาจารย์กำหนดให้
- มอบหมายงานกลุ่มสำหรับบทเรียนที่ 4-6 ให้นักศึกษาศึกษาธุรกิจในตลาดหลักทรัพย์และจัดทำแผนการสอบบัญชีพร้อมนำเสนอในชั้นเรียน
สรุปขั้นตอนและกระบวนการวางแผนงานก่อนลงตรวจสอบระหว่างกาล
การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
- ความหมายและการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
- สาเหตุสำคัญที่ผู้สอบบัญชีต้องเลือกตัวอย่างในการตรวจสอบ
- ขั้นตอนการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
- วิธีการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- กิจกรรมในชั้นเรียนให้นักศึกษาทดลองจัดทำแผนการสอบบัญชีจากข้อมูลที่อาจารย์กำหนดให้
- มอบหมายงานกลุ่ม ให้นักศึกษาศึกษาธุรกิจในตลาดหลักทรัพย์และจัดทำแผนการสอบบัญชีพร้อมนำเสนอในชั้นเรียน
หน่วยที่ 8 เอกสารการสอบบัญชี
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดทำกระดาษทำการ
- รูปแบบและเนื้อหาของกระดาษทำการ
- การเก็บรวบรวมและกรรมสิทธิ์กระดาษทำการระยะเวลาในการเก็บรักษา
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ
สอบกลางภาค
กิจกรรม :
การตรวจสอบวงจรรายได้
- วงจรรายการค้า
- แนวคิดและการควบคุมภายในวงจรรายได้
- การตรวจสอบวงจรรายได้
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ
การตรวจสอบวงจรรายจ่าย
- แนวคิดของวงจรรายจ่าย
- การควบคุมภายในวงจรรายจ่าย
- การตรวจสอบวงจรรายจ่าย
กิจกรรม : บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ
การตรวจสอบวงจรการผลิตและวงจรค่าจ้างแรงงาน
- แนวคิดและการควบคุมภายในวงจรการผลิต
- การตรวจสอบวงจรการผลิต
- แนวคิดและการควบคุมภายในวงจรค่าจ้างแรงาน
- การตรวจสอบวงค่าจ้างแรงงาน
กิจกรรม : บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ
การตรวจสอบวงจรการจัดหาเงิน
- แนวคิดและการควบคุมภายในวงจรการจัดหาเงิน
- การตรวจสอบวงจรการผลิต
การตรวจสอบวงจรการลงทุน
- แนวคิดและการควบคุมภายในลงทุนในหลักทรัพย์
- การตรวจสอบวงจรการลงทุนในหลักทรัพย์
- แนวคิดและการควบคุมภายในลงทุนในสินทรัพย์ถาวร
- การตรวจสอบวงจรการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ
การตรวจสอบเพิ่มเติมที่สำคัญ
- การตรวจสอบยอดยกมา
- การตรวจสอบบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
- การตรวจสอบเหตุการณ์ภายหลังวันที่ในรอบระยะเวลารายงาน
- การตรวจสอบหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ
รายงานของผู้สอบบัญชี
- ความหมายของรายงานของผู้สอบบัญชี
- ประเภทของความเห็นของผู้สอบบัญชี
- สถานการณ์หรือกรณีต่างๆ ที่กระทบและไม่กระทบต่อความเห็นของผู้สอบบัญชี
- ความมีสาระสำคัญที่กระทบต่อความเห็นของผู้สอบบัญชี
- รายงานของผู้สอบบัญชีต่อข้อมูลเปรียบเทียบ
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- การเชิญผู้มีประสบการณ์มาบรรยายประสบการณ์จริงในกระบวนการสอบบัญชีและให้นักศึกษาทำรายงานสรุปประเด็นความรู้ที่ได้รับ
- การตรวจสอบโดยใช้คอมพิวเตอร์
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของการใช้คอมพิวเตอร์ข่วยสนับสนุนงานตรวจสอบ
- ประเภทของการตรวจสอบที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตรวจสอบได้
- ตัวอย่างและวิธีการ
กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- การเชิญผู้มีประสบการณ์มาบรรยายประสบการณ์จริงในกระบวนการสอบบัญชีและให้นักศึกษาทำรายงานสรุปประเด็นความรู้ที่ได้รับ
สอบปลายภาค
กิจกรรม :