รายละเอียด

หลักเคมี / Principles of Chemistry

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 25 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCCC107
  • ชื่อรายวิชา(TH) : หลักเคมี
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Principles of Chemistry
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

อาจารย์ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรัญญา  ธาราเวชรักษ์

เบอร์โทรศัพท์ 0954524958

สถานที่ติดต่อ อาคารปฏิบัติการกลาง ตึก10  ห้องพักอาจารย์ชั้น 1  สาขาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง

เริ่มเรียนวันพุธที่ 1 กรกฎาคม 2563  นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้ 2 วิธี คือห้องเรียนปกติ ห้อง 14-301  เวลา 8.00-10.00 น. หรือเรียนออนไลน์ โดยใช้ MS Team 

https://teams.microsoft.com/l/channel/19%3a5932ec7d93604ad397ca123e78238e75%40thread.tacv2/General?groupId=1c54ea42-5d01-4f87-a6b4-c2e73ab18067&tenantId=2c0a3819-8c66-4ae1-9a99-3832d9facbd9

รายวิชา - หลักเคมี

บรรยาย
แนะนำบทเรียน
หน่วยที่ 1 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
1.1 โครงสร้างอะตอมและไอโซโทป
1.1.1 อนุภาคมูลฐานของอะตอม
1.1.2 ความหมายของเลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป

บทนำปฏิบัติการ
ข้อแนะนำ อุปกรณ์ และเทคนิคในปฏิบัติการเคมี

กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
ทดสอบความรู้ก่อนเรียน โดยใช้โปรแกรมKahoot
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย บรรยายโดยใช้ Power point




แนะนำข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการเคมี
ความปลอดภัยและสัญลักษณ์อันตราย
แบ่งกลุ่ม ชี้แจงทำความเข้าใจระเบียบ ข้อควรปฏิบัติ พร้อมวางกฎเกณฑ์ต่างๆร่วมกัน

1.2 ระดับพลังงานและโครงสร้างอิเล็กตรอนของอะตอม
1.2.1 ความหมายของเลขควอนตัม
1.2.2 การคำนวณหาเลขควอนตัมของแต่
ละอิเล็กตรอน
1.2.3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก
1.2.4 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย
1.2.5 การเขียนโครงสร้างอิเล็กตรอนของอะตอมในธาตุแต่ละชนิดในออร์บิตอลไดอะแกรม

การใช้อุปกรณ์ เครื่องวัดทางเคมี
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย บรรยายโดยใช้ Power point และกระดานไวท์บอร์ด
ให้นักศึกษาจัดกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาโจทย์ที่ครูมอบหมายและนำเสนอหน้าชั้นเรียน


ทดสอบความรู้หลังเรียน โดยใช้โปรแกรมKahoot



ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

1.3 ตารางธาตุ
1.3.1 ตารางธาตุสมัยใหม่
1.3.2 การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุโดยพิจารณาจากโครงสร้างการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
1.3.5 การจำแนกประเภทและสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ



สมบัติและปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบ
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
ทดสอบความรู้ก่อนเรียน โดยใช้โปรแกรมKahoot
แจกเอกสารประกอบการสอน บรรยาย สาธิตการใช้ซอฟแวร์ตารางธาตุ
จัดกลุ่มค้นคว้าธาตุแต่ละหมู่ และนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยใช้ Power point presentation อาจารย์และนักศึกษาช่วยกันสรุปประเด็น



ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

1.3.3 การเปรียบเทียบขนาดอะตอมและไอออนของธาตุในตาราง ธาตุ
1.3.4 พลังงานไอออไนเซชัน อิเล็กตรอนแอฟฟีนิตี้ และอิเล็กโตรเนกกาติวิตี้




การทดสอบสีเปลวไฟของธาตุ
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
นักศึกษานำเสนอหน้าข้อมูลเกี่ยวกับธาตุในตรรางธาตุ(ต่อ)โดยใช้ Power point presentation อาจารย์และนักศึกษาช่วยกันสรุปประเด็น
ทดสอบความรู้หลังเรียน โดยใช้โปรแกรมKahoot




ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

หน่วยที่ 2 พันธะเคมี
2.1 พันธะภายในโมเลกุล
2.1.1 การเกิดพันธะไอออนิก พันธะโควาเลนท์ พันธะโลหะ
2.1.2 การเขียนสูตรโครงสร้างของการเกิดพันธะ
2.1.3 ข้อแตกต่างของพันธะ


การวิเคราะห์ไอออนบางชนิด
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
ทดสอบความรู้ก่อนเรียน โดยใช้โปรแกรมKahoot
บรรยายโดยใช้ Power point และกระดานไวท์บอร์ด
ตอบปัญหาตามโจทย์ที่กำหนดให้ อภิปรายร่วมกันสรุปประเด็น



ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

2.2 สารประกอบไอออนิก และสารประกอบโควาเลนท์
2.2.1 สมบัติของสารประกอบไอออนิกพร้อมทั้งการเขียนสูตรและเรียกชื่อ
2.2.2 สมบัติของสารประกอบโควาเลนท์ พร้อมทั้งการเขียนสูตร และเรียกชื่อ
2.3 พันธะระหว่างโมเลกุล
2.3.1 การเกิดพันธะไฮโดรเจน แรงวันเดอร์วาล์ล



การแยกสารด้วยเทคนิคโครมาโตกราฟีแบบแผ่นบาง
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
บรรยายโดยใช้ Power point และกระดานไวท์บอร์ด
ตอบปัญหาตามโจทย์ที่กำหนดให้ อภิปรายร่วมกันสรุปประเด็น
ทดสอบความรู้หลังเรียน โดยใช้โปรแกรมKahoot




ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

หน่วยที่ 3 สารละลาย
3.1 ลักษณะและชนิดของสารละลาย
3.1.1 ความหมายของสารละลาย
3.1.2 ชนิดของสารละลาย
3.1.3 กระบวนการเกิดสารละลาย
3.1.4 ความสามารถในการละลาย
3.2 ความเข้มข้นของสารละลาย
3.2.1 ความหมายของหน่วยความเข้มข้นของสารละลาย (ร้อยละ , โมลาลิตี , นอร์มัลลิตี , และพีพีเอ็ม)


สีย้อมจากธรรมชาติ

กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
สอนบรรยายโดยใช้ Power point
ฝึกแก้ปัญหาโจทย์โดยวิธ๊คำนวณ



ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

3.2.1 ความหมายของหน่วยความเข้มข้นของสารละลาย (ร้อยละ , โมลาลิตี , นอร์มัลลิตี , และพีพีเอ็ม)





สีย้อมจากธรรมชาติ

กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
สอนบรรยายโดยใช้ Power point
ฝึกแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการคำนวณ



นำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

บทที่ 4 กรด เบส เกลือ
4.1 กรด เบส
4.1.1 นิยามของกรด เบส
4.1.2 ชนิดของกรด เบส
4.1.3 สมบัติและปฏิกิริยาของกรด เบส


สมบัติของสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโคเวเลนต์

กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
สอนบรรยายโดยใช้ Power point
ให้นักศึกษาทำรายงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย




ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

4.1.4 ค่า pH
4.2 เกลือ
4.2.1 ความหมายและชนิดของเกลือ
4.2.2 ไฮโดรไลซิสของเกลือ
4.2.3 สารละลายบัฟเฟอร์


ความสามารถในการละลาย
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
สอนบรรยายโดยใช้ Power point
ฝึกแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการคำนวณ
ให้นักศึกษาทำรายงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย



ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี
5.1 ประเภทของปฏิกิริยาเคมี
5.1.1 ความหมายและประเภทของปฏิกิริยา
5.1.2 ความหมายของเลขออกซิเดชัน
5.1.3 ค่าเลขออกซิเดชันของธาตุต่างๆ
5.2 การเขียนสมการเคมีและการดุลสมการเคมี
5.2.1 สมการเคมีทั่วไป


การเตรียมสารละลาย
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
บรรยายโดยใช้ Power point ศึกษาวิธีการหาเลขออกซิเดชัน การดุลสมการเคมี
ฝึกแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม





ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

5.2.2 หลักการดุลสมการเคมีโดยวิธีออกซิเดชัน- รีดักชั่น
5.2.3 หลักการดุลสมการเคมีโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา





การทดสอบความเป็นกรด-เบส
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
บรรยายโดยใช้ Power point การดุลสมการเคมี
ฝึกแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
มอบหมายให้ค้นคว้าในเรื่องไฟฟ้าเคมี



ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

5.3 ไฟฟ้าเคมี
5.3.1 เซลล์กัลวานิก
5.3.2 เซลล์อิเล็กโตรไลติก



การไทเทรตสารละลายกรด-เบส
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
บรรยายโดยใช้ Power point
ฝึกต่อเซลล์ไฟฟ้า



ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

หน่วยที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมดุลเคมี
6.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6.1.1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6.1.2 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี


การไทเทรตสารละลายกรด-เบส
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
บรรยายโดยใช้ Power point




ฝึกปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม สรุปผลและเขียนรายงานนำส่งในคาบถัดไป

6.2 กลไกการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6.2.1 ทฤษฎีการชน
6.2.2 ทฤษฎีสภาวะทรานซิชัน
6.2.3 ปฏิกิริยาดูดและคายพลังงาน
6.2.4 กฎอัตรา

ทบทวนบทเรียน
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
บรรยายโดยใช้ Power point




ทดสอบภาคปฏิบัติ

6.3 สมดุลเคมี
6.3.1 ความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้
6.3.2 ภาวะสมดุลไดนามิก
6.3.3 ค่าคงที่ของสมดุลเคมี ค่า Ka , Kb
6.3.4 หลักของเลอชาเตอริเยร์กับภาวะสมดุล



ทบทวนบทเรียน
กิจกรรม : ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน
บรรยายโดยใช้ Power point





ทดสอบภาคปฏิบัติ

อาจารย์ผู้สอน