รายละเอียด

ภาษาไทย 1 sec 1 / Thai 1

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : 01310101
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ภาษาไทย 1 sec 1
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Thai 1
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

ภาษาไทย 1 Sec1  ปวส.1 อาหาร   อ. สรศักดิ์  เชี่ยวชาญ

 

https://teams.microsoft.com/l/channel/19%3a280ebc6b862342c8bb47b37569a72b92%40thread.tacv2/General?groupId=96b8c364-6388-4a86-87a9-06e077efa6ba&tenantId=2c0a3819-8c66-4ae1-9a99-3832d9facbd9

รายวิชา - ภาษาไทย 1 sec 1

การสื่อสาร
๑. ความหมายของการสื่อสาร
๒. จุดประสงค์ของการสื่อสาร
๓. องค์ประกอบของการสื่อสาร
๔. สื่อ
๕. ประเภทของการสื่อสาร

กิจกรรม :
๑. อธิบายความหมาย จุดประสงค์และของการสื่อสาร
๒. วิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสาร
๓. จำแนกประเภทของการสื่อสาร

อุปสรรคของการสื่อสารและวิธีแก้ไข
๑. อุปสรรคที่ผู้ส่งสาร
๒. อุปสรรคที่ผู้รับ
๓. อุปสรรคที่สาร
๔. อุปสรรคที่ภาษาและสื่อ

กิจกรรม :
๑. วิเคราะห์อุปสรรคของการสื่อสาร
๒. หาวิธีแก้ไขอุปสรรคของการสื่อสาร

ประเภทของภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
๑. วัจนภาษา
๒. อวัจนภาษา
๓. ความสัมพันธ์ระหว่างวัจนภาษากับอวัจนภาษา

กิจกรรม : ๑. อธิบายความหมายของวัจนภาษา และอวัจนภาษา
๒. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง วัจนภาษากับอวัจนภาษา
๓. เลือกใช้วัจนภาษากับอวัจนภาษาในการสื่อสารให้เหมาะสม

ภาษาที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน
๑. ภาษาถิ่น
๒. ภาษามาตรฐาน
๓. ภาษาเฉพาะวงการ
๔. ภาษาเฉพาะกลุ่ม

กิจกรรม : ๑. จำแนกประเภทภาษาที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน
๒. เลือกใช้ภาษา ให้เหมาะสม

สุภาษิต คำพังเพย สำนวน
๑. ความหมายของสุภาษิต คำพังเพย และสำนวน
๒. ความสำคัญของสุภาษิต คำพังเพย และสำนวน
๓. ประเภทของสุภาษิต คำพังเพย และสำนวน
๔. การใช้สุภาษิต คำพังเพย และสำนวนในการสื่อสาร

กิจกรรม : ๑. เขียนอธิบายความหมาย และความสำคัญของสุภาษิต คำพังเพย และสำนวน
๒. จำแนกประเภทของสุภาษิต คำพังเพย และสำนวน
๓. เลือกใช้สุภาษิต คำพังเพย และสำนวนในการสื่อสารเหมาะสมกับสถานการณ์

การใช้โวหารในการสื่อสาร
๑. บรรยายโวหาร
๒. พรรณนาโวหาร
๓. เทศนาโวหาร
๔. สาธกโวหาร
๕. อุปมาโวหาร

กิจกรรม :
๑. อธิบายความหมายและความสำคัญของโวหารที่ใช้
๒. ฝึกใช้โวหารในการสื่อสารเหมาะสมกับโอกาส

ภาษาภาพพจน์
๑. ความหมายและความสำคัญของภาษาภาพพจน์
๒. ประเภทของภาษาภาพพจน์

กิจกรรม : ๑. อธิบายความหมายและความสำคัญของภาษาภาพพจน์
๒. จำแนกประเภทของภาษาภาพพจน์
๓. เลือกใช้ภาษาภาพพจน์อย่างเหมาะสม

การเตรียมการเขียน
๑. การเลือกเรื่อง
๒. การกำหนดขอบเขตเรื่อง
๓. การตั้งชื่อเรื่อง
๔. การจำแนกหัวเรื่อง

กิจกรรม : ๑. อธิบายวิธีเลือกเรื่อง
๒. ฝึกกำหนดขอบเขตเรื่อง
๓. ฝึกตั้งชื่อเรื่อง และจำแนกหัวเรื่องอย่างสร้างสรรค์

สอบ
กิจกรรม :

การเขียนเนื้อเรื่อง
๑. การเขียนส่วนนำเรื่อง
๒. การเขียนส่วนเนื้อเรื่อง
๓. การเขียนส่วนปิดท้ายเรื่อง

กิจกรรม : ๑. อธิบายวิธีเขียนส่วนนำเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนปิดท้ายเรื่อง
๒. ฝึกเขียนส่วนนำเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนปิดท้ายเรื่องอย่างสร้างสรรค์

การเขียนสารคดี
๑. ความหมายของสารคดี
๒. ความสำคัญของสารคดี
๓. ข้อมูลสำหรับการเขียนสารคดี
๔. โครงสร้างของสารคดี
๕. การตั้งชื่อเรื่อง
๖. ประเภทของสารคดี

กิจกรรม : ๑. อธิบายความหมาย และความสำคัญของสารคดีได้
๒. ค้นคว้าข้อมูลสำหรับการเขียนสารคดีได้อย่างเหมาะสม
๓. ฝึกเขียนโครงสร้างของสารคดี ตั้งชื่อเรื่องได้อย่างเหมาะสม
๔. จำแนกประเภทของสารคดีได้

การเขียนโฆษณาประชาสัมพันธ์
๑. ความหมายของการโฆษณา
๒. จุดมุ่งหมายของการโฆษณา
๓. ข้อความโฆษณา
๔. การเขียนหัวเรื่อง
๕. วิธีการเขียนโฆษณา
๖. การประชาสัมพันธ์
๗. ความหมายของการประชาสัมพันธ์
๘. จุดมุ่งหมายของการประชาสัมพันธ์
๙. ข้อแตกต่างของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
๑๐. รูปแบบของการประชาสัมพันธ์
๑๑. คุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ์
๑๒. การเขียนข้อความประชาสัมพันธ์

กิจกรรม : ๑. อธิบายความหมาย และจุดมุ่งหมายของการโฆษณาได้
๒. ฝึกเขียนหัวเรื่อง เขียนข้อความโฆษณา อย่างเหมาะสม
๓. อธิบายความหมาย และจุดมุ่งหมายของการประชาสัมพันธ์ได้
๔. อธิบายข้อแตกต่างของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ได้
๕. กำหนดรูปแบบ และคุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ์ได้
๖. ฝึกเขียนข้อความประชาสัมพันธ์

การเขียนคำขวัญและคำอวยพร
๑. ความหมายของคำขวัญ
๒. จุดมุ่งหมายของคำขวัญ
๓. วิธีการเขียนคำขวัญ
๔. ความหมายของคำอวยพร
๕. วิธีการเขียนคำอวยพร

กิจกรรม : ๑. อธิบายความหมาย และจุดมุ่งหมายของคำขวัญ
๒. ฝึกเขียนคำขวัญ
๓. อธิบายความหมาย และจุดมุ่งหมายของคำอวยพร
๔. ฝึกเขียนคำอวยพร

การสื่อสารด้วยการพูด
๑. ความหมายของการพูด
๒. ความสำคัญของการพูด
๓. องค์ประกอบของการพูด
๔. ประเภทของการพูด

กิจกรรม : ๑. อธิบายความหมาย และความสำคัญของการพูด
๒. จำแนกองค์ประกอบ และประเภทของการพูด

๕. การเตรียมการพูด
๖. การฝึกพูด
๗. การปรับปรุงตัวผู้พูด
๘. การปฏิบัติตนขณะพูด

กิจกรรม : ๓. อธิบายวิธีการเตรียมตัวการพูด การปฏิบัติตนขณะพูด และมารยาทในการพูด
๔. ฝึกพูดตามสถานการณ์ที่กำหนดให้ อย่างเหมาะสม

๙. มารยาทในการพูด
๑๐. การประเมินการพูด

กิจกรรม : บรรยาย ปฎิบัติ

ทบทวน
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน