รายละเอียด

การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล / Digital Signal Processing

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGEE208
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Digital Signal Processing
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

อาจารย์ ศุภกิต  แก้วดวงตา

นักศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ผู้สอนได้ทาง
โทร 0865659485
emai : supakitting@rmutl.ac.th

แนวทางการสอน online จะใช้ 
MS Teams : supakitting@rmutl.ac.th
และ Zoom : supakitting@gmail.com

รายวิชา - การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล

แนะนำรายวิชาและเกณฑ์การเก็บคะแนน
ทบทวนทฤษฎีพื้นฐานทางดิจิตอล
- แนะนำประมวลวิชา
- ความหมายของการประมวลผลสัญญาณ
- ข้อดีข้อเสียของการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
- องค์ประกอบของการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
- ตัวอย่างการนำการประมวลผลสัญญาณดิจิตอลไปประยุกต์ใช้งานจริง

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การศึกษาเกี่ยวกับสัญญาณเวลาต่อเนื่อง
- ความหมายของสัญญาณเวลาต่อเนื่อง
- การจำแนกประเภทของสัญญาณเวลาต่อเนื่อง
- การวิเคราะห์สัญญาณเวลาต่อเนื่อง
- การแปลงรูปแบบและลักษณะของสัญญาณเวลาต่อเนื่อง
- แนะนำสัญญาณพื้นฐาน

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การศึกษาเกี่ยวกับสัญญาณเวลาไม่ต่อเนื่อง
- ความหมายของสัญญาณเวลาไม่ต่อเนื่อง
- การจำแนกประเภทของสัญญาณเวลาไม่ต่อเนื่อง
- การวิเคราะห์สัญญาณเวลาไม่ต่อเนื่อง
- การแปลงรูปแบบและลักษณะของสัญญาณเวลาไม่ต่อเนื่อง
- แนะนำสัญญาณพื้นฐาน

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การศึกษาเกี่ยวกับระบบเวลาต่อเนื่อง
- ความหมายของระบบเวลาต่อเนื่อง
- การจำแนกประเภทของระบบเวลาต่อเนื่อง
- การเขียนแผนภาพบล็อกแทนระบบเวลาต่อเนื่อง

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การศึกษาเกี่ยวกับระบบเวลาไม่ต่อเนื่อง
- ความหมายของระบบเวลาไม่ต่อเนื่อง
- การจำแนกประเภทของระบบเวลาไม่ต่อเนื่อง
- การเขียนแผนภาพบล็อกแทนระบบเวลาไม่ต่อเนื่อง

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การวิเคราะห์ระบบสัญญาณเวลาต่อเนื่อง
- ความหมายของการวิเคราะห์ระบบสัญญาณเวลาต่อเนื่อง
- ความสำคัญของการวิเคราะห์ระบบสัญญาณเวลาต่อเนื่อง
- การวิเคราะห์ระบบโดยการแยกย่อยสัญญาณขาเข้าเป็นผลบวกของสัญญาณพื้นฐาน
- การวิเคราะห์ระบบโดยการแก้สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสัญญาณขาเข้ากับสัญญาณขาออกที่เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์
- คุณสมบัติคอนโวลูชันและการต่อร่วมกันของระบบเวลาต่อเนื่องที่เป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา
- คุณสมบัติของระบบเวลาต่อเนื่องที่เป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การสุ่มสัญญาณและการสร้างสัญญาณคืน
- ความสำคัญของการสุ่มสัญญาณและการสร้างสัญญาณคืน
- หลักการสุ่มสัญญาณด้วยสวิทซ์อุดมคติ
- หลักการสุ่มสัญญาณด้วยสัญญาณอิมพัลส์
- การวิเคราะห์การสุ่มสัญญาณในโดเมนความถี่
- การสร้างสัญญาณคืน

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การวิเคราะห์ระบบสัญญาณเวลาไม่ต่อเนื่อง
- ความหมายของการวิเคราะห์ระบบสัญญาณเวลาไม่ต่อเนื่อง
- ความสำคัญของการวิเคราะห์ระบบสัญญาณเวลาไม่ต่อเนื่อง
- การวิเคราะห์ระบบโดยการแยกย่อยสัญญาณขาเข้าเป็นผลบวกของสัญญาณพื้นฐาน
- การวิเคราะห์ระบบโดยการแก้สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสัญญาณขาเข้ากับสัญญาณขาออกที่เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์
- คุณสมบัติคอนโวลูชันและการต่อร่วมกันของระบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่เป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา
- คุณสมบัติของระบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่เป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา


กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

การแปลงแบบซี
- การแปลงแบบซี
- การแปลงซีโดยใช้สูตรสำเร็จจากตาราง
- การแปลงซีผกผัน
การใช้การแปลงซีกับระบบเวลาไม่ต่อเนื่อง

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การแปลงฟูเรียร์แบบเวลาไม่ต่อเนื่อง
- การแปลงฟูเรียร์แบบเวลาไม่ต่อเนื่อง
- สัญญาณไม่ต่อเนื่องความถี่เดียว
- ความสัมพันธ์ของการแปลงฟูเรียร์แบบเวลาไม่ต่อเนื่องและการแปลงแบบซี
- ผลตอบสนองเชิงความถี่ของระบบ

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต
- ทบทวนการแปลงแบบต่างๆ
- ที่มาของการแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต
- ความหมายของการแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต
- การแปลงการแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต
- การแปลงการแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีตผกผัน
- คุณสมบัติของการแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว
- ทบทวนการแปลงแบบต่างๆ
- ความหมายของการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว
- การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

วงจรกรองดิจิตอลแบบ FIR
- คุณสมบัติเฟสแบบเชิงเส้น
- คุณสมบัติความสมมาตรของตัวกรองที่มีเฟสแบบเชิงเส้น
- การออกแบบโดยวิธีหน้าต่าง
- หน้าต่างแบบสี่เหลี่ยม
- หน้าต่างแบบแฮมมิ่ง
- หน้าต่างแบบไคเซอร์
- การออกแบบโดยวิธีการสุ่มความถี่
- การสร้างตัวกรองแบบ FIR

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

วงจรกรองดิจิตอลแบบ IIR
- การออกแบบโดยอิงตัวกรองแอนะล็อกต้นแบบ
- การออกแบบโดยวิธีการวางโพลและศูนย์
- การสร้างตัวกรองแบบ IIR
- เปรียบเทียบตัวกรองแบบ FIR และ IIR

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน
- การใช้งานโปรแกรม Matlab
- การปรับแต่งลักษณะของเสียง
- การสร้างตัวกรอง

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยใช้ สื่อ Power Point

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน