รายละเอียด
การควบคุมอัตโนมัติ / Automatic Control
- 17 สัปดาห์
- จำนวนนักศึกษา 2 คน
- อาจารย์ผู้สอน 1 คน
ข้อมูลรายวิชา
- รหัสรายวิชา : ENGME110
- ชื่อรายวิชา(TH) : การควบคุมอัตโนมัติ
- ชื่อรายวิชา (EN) : Automatic Control
- เทอม / ปีการศึกษา : 1/2564
รายละเอียด
คัดลอกลิ้งค์เพื่อเข้าสู่ MS Teams สำหรับวิชาการควบคุมอัตโนมัติ
https://teams.microsoft.com/l/team/19%3a0e25280812fc485582af70f25a0d0e74%40thread.tacv2/conversations?groupId=081d5138-428a-467e-8f5c-7c0b7e8d1532&tenantId=2c0a3819-8c66-4ae1-9a99-3832d9facbd9
รายวิชา - การควบคุมอัตโนมัติ
1.1 แนะนำระบบควบคุมอัตโนมัติ
1.2 ความเป็นมาของระบบควบคุมอัตโนมัติ
1.3 ประเภทของระบบควบคุมอัตโนมัติ
2.1 คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.2 การแปลงลาปลาซ
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างระบบควบคุมอัตโนมัติ
บรรยาย พร้อมอธิบายความสำคัญของการแก้ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์
2.3 การแก้ปัญหาเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้นด้วยวิธีการแปลงลาปลาซ
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างการแก้ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์
3.1 คุณลักษณะของระบบอันดับหนึ่งวงเปิด
3.2 การตอบสนองของระบบอันดับหนึ่งต่อแรงดลหนึ่งหน่วย
3.3 การตอบสนองของระบบอันดับหนึ่งต่อสัญญาณป้อนเข้าแบบขั้นบันไดหนึ่งหน่วย
3.4 การตอบสนองของระบบอันดับหนึ่งต่อสัญญาณป้อนเข้าแบบลาดเอียงหนึ่งหน่วย
3.5 ตัวอย่างระบบอันดับหนึ่ง
4.1 คุณลักษณะของระบบอันดับสองวงเปิด
4.2 การตอบสนองชั่วขณะของระบบอันดับสองแบบหน่วงเกิน
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างระบบอันดับหนึ่งวงเปิด และการเขียนสมการทางคณิตศาสตร์จากพื้นฐานของระบบทางกายภาพ
บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างระบบอันดับสอง
4.3 การตอบสนองชั่วขณะของระบบอันดับสองแบบหน่วงวิกฤติ
4.4 การตอบสนองชั่วขณะของระบบอันดับสองแบบหน่วงต่ำ
4.5 เปรียบเทียบการตอบสนองชั่วขณะของระบบอันดับสอง
4.6 ค่าคงที่จากการตอบสนองชั่วขณะของระบบอับดับสองแบบหน่วงต่ำ
4.7 ตัวอย่างของระบบอันดับสอง
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างระบบอันดับสอง และการเขียนสมการทางคณิตศาสตร์จากตัวอย่างของระบบอันดับสอง
5.1 การตอบสนองชั่วขณะสำหรับระบบอันดับหนึ่งวงปิด
5.2 ตัวอย่างระบบควบคุมอันดับหนึ่งวงปิด
5.3 การตอบสนองชั่วขณะสำหรับระบบอันดับสองวงปิด
5.4 ตัวอย่างระบบควบคุมอันดับสองวงปิด
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างระบบควบคุมอันดับหนึ่งวงปิดจากระบบทางกายภาพ และตัวอย่างอุปกรณ์ป้อนกลับสัญญาณ
6.1 สมรรถนะของระบบวงปิด
6.2 ค่าความผิดพลาดคงตัว
6.3 ค่าความผิดพลาดคงตัวจากรูปแบบสัญญาณอ้างอิง
6.4 ค่าความผิดพลาดคงตัวจากชนิดของระบบ
6.5 เสถียรภาพของระบบควบคุม
6.6 การหาค่าอัตราขยายจาก Routh’s Stability Criterion
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมยกอธิบายเพิ่มเติมถึงหลักการหาสมรรถนะของระบบวงปิด โดยใช้โปรแกรม MatLab ในการยกตัวอย่าง
7.1 แนะนำแผนภาพทางเดินราก
7.2 หลักการของกราฟทางเดินราก
7.3 การเขียนกราฟทางเดินราก
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมอธิบายถึงหลักการของแผนภาพ
7.3 การเขียนกราฟทางเดินราก (ต่อ)
7.4 การหาค่าอัตราส่วนตัวหน่วงและอัตราขยายจากแผนภาพทางเดินราก
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมอธิบายถึงหลักการของแผนภาพเมื่อเปรียบเทียบแผนภาพทางเดินรากจาก MatLab
สอบกลางภาค
กิจกรรม :
8.1 การออกแบบตัวควบคุม
8.2 ตัวชดเชยแบบต่อเรียง
8.3 การออกแบบตัวชดเชยแบบเฟสตาม
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมอธิบายถึงหลักการออกแบบตัวควบคุม และเปรียบเทียบคุณลักษณะของตัวควบคุมแต่ละแบบ
8.4 การออกแบบตัวชดเชยแบบเฟสนำ
8.5 การออกแบบตัวชดเชยแบบเฟสนำและเฟสตาม
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมอธิบายถึงหลักการออกแบบตัวควบคุม และเปรียบเทียบคุณลักษณะของตัวควบคุมแต่ละแบบ
9.1 การตอบสนองเชิงความถี่และแผนภาพ Bode
9.2 การพล็อตขนาดของฟังค์ชั่นเชิงความถี่
กิจกรรม : บรรยาย การควบคุมอัตโนมัติ พร้อมอธิบายถึงความสำคัญของการวิเคราะห์เชิงความถี่
9.3 การพล็อตมุมของฟังค์ชั่นเชิงความถี่
9.4 การวิเคราะห์การตอบสนองเชิงความถี่ด้วยแผนภาพ Bode
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมอธิบายถึงหลักการของการวิเคราะห์เชิงความถี่
10.1 การตอบสนองเชิงความถี่และแผนภาพ Nyquist
10.2 การพล็อตแผนภาพ Nyquist
10.3 การวิเคราะห์การตอบสนองเชิงความถี่ด้วยแผนภาพ Nyquist
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมอธิบายถึงความแตกต่างของ แผนพภาพ Bode และ แผนภาพ Nyquist
11.1 การควบคุมแบบ PI
11.2 การหาค่าพารามิเตอร์อย่างง่ายของตัวควบคุม
11.3 ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมควบคุมแบบ PI
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมอธิบายถึงหลักการของการควบคุมแบบ PI พร้อมยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมควบคุม
11.3 ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมควบคุมแบบ PI (ต่อ)
กิจกรรม : บรรยาย พร้อมอธิบายถึงหลักการของการควบคุมแบบ PI พร้อมยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมควบคุม
ทบทวนบทเรียน
กิจกรรม :