รายละเอียด

กลศาสตร์พื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร 1 / Foundation of Agricultural Machinery Mechanics 1

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : 24011207
  • ชื่อรายวิชา(TH) : กลศาสตร์พื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร 1
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Foundation of Agricultural Machinery Mechanics 1
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2561

รายละเอียด

รายวิชา - กลศาสตร์พื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร 1

บทที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับการแยกแรง
- ความหมายของแรง
- การหาแรงลัพธ์
- การแยกเวกเตอร์

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ความหมายของแรง การหาแรงลัพธ์ วิธีการคำนวณหาแรงลัพธ์ และการแยกเวกเตอร์

บทที่ 2 การหาโมเมนต์
- ความหมายโมเมนต์ของแรง
- ทิศทางของโมเมนต์
- หลักการของโมเมนต์
- ส่วนประกอบของคาน
- หลักการคำนวณเรื่องคาน
- ฝึกปฏิบัติงานการหาโมเมนต์ในคาน

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- ความหมายและความสำคัญของโมเมนต์ของแรง ทิศทางของโมเมนต์ หลักการของโมเมนต์ส่วนประกอบของคาน หลักการคำนวณเรื่องคาน
- ฝึกปฏิบัติงานการหาโมเมนต์ในคาน

บทที่ 2 การหาโมเมนต์
- ความหมายโมเมนต์ของแรง
- ทิศทางของโมเมนต์
- หลักการของโมเมนต์
- ส่วนประกอบของคาน
- หลักการคำนวณเรื่องคาน
- ฝึกปฏิบัติงานการหาโมเมนต์ในคาน

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- ความหมายและความสำคัญของโมเมนต์ของแรง ทิศทางของโมเมนต์ หลักการของโมเมนต์ส่วนประกอบของคาน หลักการคำนวณเรื่องคาน
- ฝึกปฏิบัติงานการหาโมเมนต์ในคาน

บทที่ 2 การหาโมเมนต์
- ความหมายโมเมนต์ของแรง
- ทิศทางของโมเมนต์
- หลักการของโมเมนต์
- ส่วนประกอบของคาน
- หลักการคำนวณเรื่องคาน
- ฝึกปฏิบัติงานการหาโมเมนต์ในคาน

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- ความหมายและความสำคัญของโมเมนต์ของแรง ทิศทางของโมเมนต์ หลักการของโมเมนต์ส่วนประกอบของคาน หลักการคำนวณเรื่องคาน
- ฝึกปฏิบัติงานการหาโมเมนต์ในคาน

บทที่ 3 การเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ
- ความหมายของแผนภาพวัตถุอิสระ
- ขั้นตอนการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ
- ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- ความหมายและความสำคัญของวัตถุอิสระ
- ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 3 การเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ
- ความหมายของแผนภาพวัตถุอิสระ
- ขั้นตอนการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ
- ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- ความหมายและความสำคัญของวัตถุอิสระ
- ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

บทที่ 4 การประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
- ลักษณะอาการของวัตถุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน
- เงื่อนไขของสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล
- วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล
- ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบลักษณะอาการของวัตุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับการสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล
- ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล

บทที่ 4 การประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
- ลักษณะอาการของวัตถุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน
- เงื่อนไขของสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล
- วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล
- ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบลักษณะอาการของวัตุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับการสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล
- ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล

บทที่ 4 การประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
- ลักษณะอาการของวัตถุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน
- เงื่อนไขของสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล
- วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล
- ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบลักษณะอาการของวัตุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับการสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล
- ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล

บทที่ 4 การประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
- ลักษณะอาการของวัตถุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน
- เงื่อนไขของสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล
- วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล
- ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบลักษณะอาการของวัตุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับการสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล
- ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล

บทที่ 5 การแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์
- หลักการสถิตยศาสตร์ในทางวิศวกรรม
- หลักการพื้นฐานสถิตยศาสตร์
- สมดุลของอนุภาค
- สมดุลของวัตถุเกร็ง
- ฝึกปฏิบัติงานแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์ หลักการสถิตยศาสตร์ในทางวิศวกรรม หลักการพื้นฐานสถิตยศาสตร์ สมดุลของอนุภาค สมดุลของวัตถุเกร็ง
- ฝึกปฏิบัติงานแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์

บทที่ 5 การแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์
- หลักการสถิตยศาสตร์ในทางวิศวกรรม
- หลักการพื้นฐานสถิตยศาสตร์
- สมดุลของอนุภาค
- สมดุลของวัตถุเกร็ง
- ฝึกปฏิบัติงานแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์ หลักการสถิตยศาสตร์ในทางวิศวกรรม หลักการพื้นฐานสถิตยศาสตร์ สมดุลของอนุภาค สมดุลของวัตถุเกร็ง
- ฝึกปฏิบัติงานแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์

บทที่ 5 การแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์
- หลักการสถิตยศาสตร์ในทางวิศวกรรม
- หลักการพื้นฐานสถิตยศาสตร์
- สมดุลของอนุภาค
- สมดุลของวัตถุเกร็ง
- ฝึกปฏิบัติงานแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์ หลักการสถิตยศาสตร์ในทางวิศวกรรม หลักการพื้นฐานสถิตยศาสตร์ สมดุลของอนุภาค สมดุลของวัตถุเกร็ง
- ฝึกปฏิบัติงานแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์

บทที่ 5 การแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์
- หลักการสถิตยศาสตร์ในทางวิศวกรรม
- หลักการพื้นฐานสถิตยศาสตร์
- สมดุลของอนุภาค
- สมดุลของวัตถุเกร็ง
- ฝึกปฏิบัติงานแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์ หลักการสถิตยศาสตร์ในทางวิศวกรรม หลักการพื้นฐานสถิตยศาสตร์ สมดุลของอนุภาค สมดุลของวัตถุเกร็ง
- ฝึกปฏิบัติงานแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพโดยใช้หลักทางสถิตยศาสตร์

ทบทวนบทเรียน
กิจกรรม :

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน