รายละเอียด

การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่ / Field Crops Seed Production

  • 0 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : 21022324
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Field Crops Seed Production
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2561

รายละเอียด

 

 

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

(Course Specification)

 

 

 

 

 

รหัสวิชา 21022324

ชื่อวิชา การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่

(Field Crops Seed Production)

 

 

 

 

 

 

 

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรวิทยาศาตรบัณทิต สาขาวิชาพืชศาสตร์

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555

คณะคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

 

สารบัญ

 

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ 2

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 3

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 7

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 12

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 13

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รายละเอียดของรายวิชา

Course Specification

 

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

คณะ/วิทยาเขต/ภาควิชา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

 

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

 

1. รหัสและชื่อรายวิชา : 21022324 การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่

(Field Crops Seed Production)

 

2. จำนวนหน่วยกิต: 3 หน่วยกิต (2–1–5)

 

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : เป็นรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพเลือก ในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์

 

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน :

4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา รุจิพจน์

สถานที่ติดต่ออาจารย์ : ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

โทรศัพท์ : 054-710-259 ต่อ 1125 โทรสาร : 054-771-398

โทรศัพท์มือถือ : 081-792-0315 e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th

e-mail : k_rujiphot@gmail.com

4.2 อาจารย์ผู้สอนรายวิชา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา รุจิพจน์

สถานที่ติดต่ออาจารย์ : ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

โทรศัพท์ : 054-710-259 ต่อ 1125 โทรสาร : 054-771-398

โทรศัพท์มือถือ : 081-792-0315 e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th

e-mail : k_rujiphot@gmail.com

 

 

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปีที่ 3 (4ปี)

 

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี

7. รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่กัน : ไม่มี

 

8. สถานที่เรียน : สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

 

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด : วันที่ 26 ตุลาคม 2561

 

 

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

 

1. วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้

1.1 เข้าใจความสำคัญและสถานการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่เศรษฐกิจ

1.2 เข้าใจถึงวิธีการสร้างและการพัฒนาของเมล็ดพันธุ์

1.3 เข้าใจขั้นตอน หลักการผลิตเมล็ดพันธุ์ ระยะห่างในการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่

1.4 เข้าใจการผลิตเมล็ดพันธุ์ตระกูลธัญพืช ถั่ว พืชเส้นใย ละหุ่ง ทานตะวัน ฯลฯ

1.5 เข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐานและการรับรองเมล็ด

พันธุ์ และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช

 

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา:

ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน

 

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและสถานการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่ การสร้างและการพัฒนาของเมล็ดพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์และขั้นตอนการผลิตเมล็ดพันธุ์ หลักการและระยะห่างในการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่ การผลิตเมล็ดพันธุ์พืช ธัญพืช ถั่ว พืชเส้นใย ละหุ่ง ทานตะวัน ฯลฯ การควบคุมคุณภาพของเมล็ด พันธุ์ตามมาตรฐานและการรับรองเมล็ดพันธุ์ และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช

 

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา:

จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์ 2 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์ 3 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา - ชั่วโมง

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือ โทรศัพท์ 081-792-0315

3.2 e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th หรือ k_rujiphot@gmail.com ช่วงเวลา 20.00 –24.00 น. ทุกวัน

 

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

 

การพัฒนาผลการเรียนรู้

 

วิธีการสอน

วิธีการวัดและประเมินผล

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)

š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม

˜ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

˜ 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

2. การสอนแบบ Brain Storming Group

 

1. การสังเกต

2. แบบทดสอบ

 

2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)

˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา

˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา

š 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)

 

1. การสังเกต

2. งานมอบหมาย/รายงาน

3. ข้อสอบอัตนัยและ/หรือปรนัย

 

3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (CognitiveSkills)

˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ

š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ

1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process

2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

1. การสังเกต

2. งานมอบหมาย/รายงาน

3. ข้อสอบอัตนัยและ/หรือปรนัย

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)

š 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี

š 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ

š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม

š 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

 

 

 

 

 

1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)

 

 

 

 

 

 

 

 

1. การสังเกต

2. งานมอบหมาย

3. การประเมินโดยเพื่อน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)

˜ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม

š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง

เหมาะสม

˜ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

 

 

 

 

 

 

1. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต

3. การนำเสนองานด้วยวิธีรายงาน / วาจา หรือ Power point

 

 

 

 

 

 

 

1. การสังเกต

2. งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง

3. การนำเสนองานมอบหมาย

 

6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)

6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง

6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ

6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ

 

 

 

 

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

หมวดวิชาเฉพาะ สาขาวิชาพืชศาสตร์

˜ ความรับผิดชอบหลัก š ความรับผิดชอบรอง

 

กลุ่มวิชา

1.คุณธรรมจริยธรรม

2.ความรู้

3.ทักษะทางปัญญา

4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะห์

6.ด้านทักษะ

เชิงตัวเลขและการใช้

พิสัย

เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

ลำดับ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

1

2

3

4

1

2

3

1

2

1

2

3

4

1

2

3

1

2

3

8

21022324

การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่

 

š

 

˜

 

˜

 

˜

 

˜

 

˜

 

š

 

˜

 

š

 

š

 

š

 

š

 

š

 

˜

 

š

 

˜

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน

 

สัปดาห์ที่

 

หัวข้อ/รายละเอียด

ชั่วโมงบรรยาย

ชั่วโมงปฏิบัติการ

วิธีสอน/กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้

วิธีวัดและประเมินผล

ชื่อผู้สอน

1

บทที่ 1 บทนำ

1.1 ความสำคัญของการผลิตเมล็ดพันธุ์

1.2 สถา??

รายวิชา - การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่

อาจารย์ผู้สอน