รายละเอียด

การควบคุมอัตโนมัติ / Automatic Control

  • 11 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : 31074405
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การควบคุมอัตโนมัติ
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Automatic Control
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2561

รายละเอียด

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของระบบควบคุมอัตโนมัติ การวิเคราะห์และการจำลองส่วนประกอบของระบบควบคุมเชิงเส้น เสถียรภาพของระบบควบคุมป้อนกลับเชิงเส้น การวิเคราะห์และออกแบบระบบในโดเมนเวลา และโดเมนความถี่ การออกแบบและการชดเชยระบบควบคุม การใช้คอมพิวเตอร์ในการจำลองการทำงานของระบบควบคุม

รายวิชา - การควบคุมอัตโนมัติ

1.1 คำจัดความของระบบควบคุมอัตโนมัติ

1.2 ความเป็นมาของระบบควบคุมอัตโนมัติ

1.3 ประเภทของระบบควบคุมอัตโนมัติ

2.1 การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

2.2 การแปลงลาปลาซ

2.3 การแก้ปัญหาเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้นด้วยวิธีการแปลงลาปลาซ

3.1  คุณลักษณะของระบบอันดับหนึ่ง

3.2  การตอบสนองของระบบอันดับหนึ่งต่อแรงดลหนึ่งหน่วย

3.3  การตอบสนองของระบบอันดับหนึ่งต่อสัญญาณป้อนเข้าแบบขั้นบันไดหนึ่งหน่วย

3.4  การตอบสนองของระบบอันดับหนึ่งต่อสัญญาณป้อนเข้าแบบลาดเอียงหนึ่งหน่วย

3.5  ตัวอย่างระบบอันดับหนึ่ง

4.1 คุณลักษณะของระบบอันดับสอง

4.2 การตอบสนองชั่วขณะของระบบอันดับสองแบบหน่วงเกิน

4.3 การตอบสนองชั่วขณะของระบบอันดับสองแบบหน่วงวิกฤติ

4.4 การตอบสนองชั่วขณะของระบบอันดับสองแบบหน่วงต่ำ

4.5 เปรียบเทียบการตอบสนองชั่วขณะของระบบอันดับสอง

4.6 ค่าคงที่จากการตอบสนองชั่วขณะของระบบอับดับสองแบบหน่วงต่ำ

5.1 การตอบสนองชั่วขณะสำหรับระบบอันดับหนึ่งวงปิด

5.2 ตัวอย่างระบบควบคุมอันดับหนึ่งวงปิด

5.3 การตอบสนองชั่วขณะสำหรับระบบอันดับสองวงปิด

5.4 ตัวอย่างระบบควบคุมอันดับสองวงปิด

6.1 นิยามของสมรรถนะระบบวงปิด

6.2 ค่าความผิดพลาดคงตัว

6.3 ค่าความผิดพลาดคงตัวจากรูปแบบสัญญาณอ้างอิง

6.4 ค่าความผิดพลาดคงตัวจากชนิดของระบบ

6.5 เสถียรภาพของระบบควบคุม

6.6 การหาค่าอัตราขยายจาก Routh’s Stability Criterion

7.1 นิยามของแผนภาพทางเดินราก

7.2 หลักการของกราฟทางเดินราก

7.3 การเขียนกราฟทางเดินราก

7.4 การหาค่าอัตราส่วนตัวหน่วงและอัตราขยายจากแผนภาพทางเดินราก

8.1 การออกแบบตัวควบคุม

8.2 ตัวชดเชยแบบต่อเรียง

8.3 การออกแบบตัวชดเชยแบบเฟสตาม

8.4 การออกแบบตัวชดเชยแบบเฟสนำ

8.5 การออกแบบตัวชดเชยแบบเฟสนำและเฟสตาม

9.1 การตอบสนองเชิงความถี่และแผนภาพ Bode

9.2 การพล็อตขนาดของฟังค์ชั่นเชิงความถี่

9.3 การพล็อตมุมของฟังค์ชั่นเชิงความถี่

9.4 การวิเคราะห์การตอบสนองเชิงความถี่ด้วยแผนภาพ Bode

10.1 การตอบสนองเชิงความถี่และแผนภาพ Nyquist

10.2 การพล็อตแผนภาพ Nyquist

10.3 การวิเคราะห์การตอบสนองเชิงความถี่ด้วยแผนภาพ Nyquist

11.1 การควบคุมแบบ PI

11.2 การหาค่าพารามิเตอร์อย่างง่ายของตัวควบคุม

11.3 ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมควบคุมแบบ PI

อาจารย์ผู้สอน