รายละเอียด

พืชเศรษฐกิจของอาเซียน / Economic Crops of ASEAN

  • 0 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : 21011244
  • ชื่อรายวิชา(TH) : พืชเศรษฐกิจของอาเซียน
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Economic Crops of ASEAN
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2560

รายละเอียด

 

 

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

(Course Specification)

 

 

 

 

 

 

 

รหัสวิชา 21011244 พืชเศรษฐกิจของอาเซียน

(Economic Crops of ASEAN)

 

 

 

 

 

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตรบันฑิต

หลักสูตรใหม่/หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2555

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

 

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

 

สารบัญ

 

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ 2

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 3

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 7

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 12

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 13

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รายละเอียดของรายวิชา

Course Specification

 

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

คณะ/วิทยาเขต/ภาควิชา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

 

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

 

1. รหัสและชื่อรายวิชา : 21011244 พืชเศรษฐกิจของอาเซียน

Economic Crops of ASEAN

 

2. จำนวนหน่วยกิต : 3 หน่วยกิต (3-0- 6)

 

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา:

เป็นรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชากลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ ในหลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์

 

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน :

4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา รุจิพจน์

สถานที่ติดต่ออาจารย์ : ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

โทรศัพท์ : 054-710-259 ต่อ 1126 โทรสาร : 054-771-398

โทรศัพท์มือถือ : 081-792-0315 E-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th

 

4.2 อาจารย์ผู้สอนรายวิชา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา รุจิพจน์

สถานที่ติดต่ออาจารย์ : ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

โทรศัพท์ : 054-710-259 ต่อ 1126 โทรสาร : 054-771-398

โทรศัพท์มือถือ : 081-792-0315 E-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th

 

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ภาคการศึกษา 1 ชั้นปีที่ 2 (วท.บ. 4 ปี)

 

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี

 

7. รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่กัน : ไม่มี

 

8. สถานที่เรียน : สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

สถานที่ศึกษาดูงาน : ตลาดการค้าชายแดนไทย-ลาว บ้านห้วยโก๋น ตำบลห้วยโก๋น อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน

 

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด : วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

 

 

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

 

1. วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้

1.1 รู้ความสำคัญของพืชเศรษฐกิจในภูมิภาคของประเทศประชาคมอาเซียน

1.2 รู้ชนิดพืช ลักษณะประจำพันธุ์ และการขยายพันธุ์

1.3 เข้าใจวิธีการปลูก ดูแลรักษา และการป้องกันโรค แมลงของพืช

1.4 เข้าใจวิธีการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาผลผลิต และการตลาด

 

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา :. ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน พัฒนาบุคลากรด้านการเรียนการสอนและบริการวิชาการ ให้มีประสบการณ์จากการนำความรู้ไปปฏิบัติจริง มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และให้หลักสูตรมีความทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน

 

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

 

1. คำอธิบายรายวิชา

พืชเศรษฐกิจที่สำคัญในภูมิภาคของประชาคมอาเซียน ชนิดพืช ลักษณะประจำพันธุ์ การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาผลผลิต ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด การขยายพันธุ์และการตลาด

 

The Important of economic crops in ASEAN, kind, characteristic of variety, planting, cultivar, harvest, postharvest , pest control and marketing of economic plant in ASEAN

 

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา:

จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์ 3 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์ 0 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง

จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา 0 ชั่วโมง (ถ้ามี)

 

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือ โทรศัพท์ 081-792-0315

3.2 e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th เวลา 20.00 – 21.00 น. ทุกวัน

 

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

 

การพัฒนาผลการเรียนรู้

 

วิธีการสอน

วิธีการวัดและประเมินผล

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)

˜ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม

š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชา

การหรือวิชาชีพ

˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

š 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

 

 

 

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

2. การสอนแบบ Brain Storming Group

 

 

 

 

1. การสังเกต

2. แบบทดสอบ

 

2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)

˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา

š 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา

˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

 

 

 

1. การสังเกต

2. ข้อสอบอัตนัยและ/หรือข้อสอบปรนัย

 

3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills)

˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชา

การหรือวิชาชีพ

š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ

1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process

1. การสังเกต

2. ข้อสอบอัตนัยและ/หรือข้อสอบปรนัย

 

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)

˜ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี

4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ

š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม

˜ 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

4.1 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)

4.2 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)

 

 

 

การประเมินโดยเพื่อน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)

š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม

˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง

เหมาะสม

š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

 

 

 

 

 

 

1. มีการนำเสนอข้อมูลโดยใช้ Power point

2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต

4. การนำเสนองานด้วยวิธีรายงาน วาจา และ power point

 

 

 

 

 

 

 

1. งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง

2. การสังเกต

3. การนำเสนองาน

4. การประเมินโดยเพื่อน

 

6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)

6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง

6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ

6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ

(ไม่มีภาคปฏิบัติการ)

 

 

 

-

 

 

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

หมวดวิชาเฉพาะ สาขาวิชาพืชศาสตร์

 

 

˜

กล่องข้อความ: ˜ ความรับผิดชอบหลัก š ความรับผิดชอบรอง

 

กลุ่มวิชา

1. คุณธรรมจริยธรรม

2. ความรู้

3. ทักษะทางปัญญา

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะห์

6.ด้านทักษะ

เชิงตัวเลขและการใช้

พิสัย

เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

ลำดับ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

1

2

3

4

1

2

3

1

2

1

2

3

4

1

2

3

1

2

3

1

21011244

พืชเศรษฐกิจของอาเซียน

 

˜

 

š

 

˜

 

š

 

˜

 

š

 

˜

 

˜

 

š

 

˜

 

 

 

š

 

˜

 

š

 

˜

 

š

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

  1. แผนการสอน

 

สัปดาห์

ที่

 

หัวข้อ/รายละเอียด

ชั่วโมงบรรยาย

ชั่วโมงปฏิบัติการ

วิธีสอน/กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้

วิธีวัดและประเมินผล

ชื่อผู้สอน

รายวิชา - พืชเศรษฐกิจของอาเซียน

อาจารย์ผู้สอน