รายละเอียด

การบัญชีการเงิน / Financial Accounting

  • 0 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BACAC111
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การบัญชีการเงิน
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Financial Accounting
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2561

รายละเอียด

หลักสูตรที่ใช้ มคอ.3 เล่มนี้

ลำดับ

เล่มหลักสูตร

สถานะ

วันที่ตรวจสอบ

1

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ

รอตรวจสอบ

 

2

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (การจัดการสารสนเทศ)

รอตรวจสอบ

 

3

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางธุรกิจ)

รอตรวจสอบ

 

4

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ

รอตรวจสอบ

 

5

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การจัดการธุรกิจ)

รอตรวจสอบ

 

6

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การจัดการธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่)

รอตรวจสอบ

 

7

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การจัดการโลจิสติกส์)

รอตรวจสอบ

 

8

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การจัดการสำนักงาน)

รอตรวจสอบ

 

9

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การตลาด)

รอตรวจสอบ

 

10

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (ภาษาอังกฤษธุรกิจ)

รอตรวจสอบ

 

11

ยกเลิก

รอตรวจสอบ

 

หมวดที่ 1

ข้อมูลทั่วไป

1.รหัสและชื่อรายวิชารหัสรายวิชาBACAC111ชื่อรายวิชาภาษาไทยการบัญชีการเงินชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษFinancial Accounting2.จำนวนหน่วยกิต3( 2 - 2 - 5 )3.หลักสูตร และประเภทของรายวิชา11 หลักสูตร4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน5.ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียนภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นปีที่ 25616.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)7.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)8.สถานที่เรียนตาก9.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุดประเภท :มคอ.3เขตพื้นที่ :ตากปีการศึกษา :2561เทอมการศึกษา :1

หมวดที่ 2

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความสำคัญของการบัญชีต่อประเภทธุรกิจ หลักการเบื้องต้นของการบัญชีทั่วไปและวงจรบัญชี ตลอดจนการจัดทำรายงานทางการเงินสำหรับกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม

1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ และการจัดทำงบการเงินที่เกี่ยวข้อง

1.3 เพื่อให้นักศึกษาฝึกหัดการนำแนวคิด ทฤษฎี หลักการและวิธีการบัญชี มาใช้ในการวิเคราะห์และจัดทำบัญชีได้อย่างถูกต้อง

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการบัญชีต่อประเภทธุรกิจ หลักการเบื้องต้นของการบัญชีทั่วไป การจัดทำรายงานการเงินสำหรับกิจการประเภทต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถในด้านการบริหารธุรกิจ

2.2 เพื่อให้นักศึกษาตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาชีพ มีจิตสำนึกในการดำเนินธุรกิจ โดยคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม

2.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีและการปฏิบัติที่สำคัญในเนื่อหาของรายวิชาการบัญชีการเงิน สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.4 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน

หมวดที่ 3

ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความสำคัญของการบัญชีต่อประเภทธุรกิจ หลักการเบื้องต้นของการบัญชีทั่วไป และวงจรบัญชี ตลอดจนจัดทำรายงานทางการเงินสำหรับกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม การบันทึกบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษาบรรยาย :

บรรยาย

สอนเสริม

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

30 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา

สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย

มีการฝึกปฏิบัติ

30 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา

การศึกษาด้วยตนเอง

5 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์

สอนเสริม :การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน :การศึกษาด้วยตนเอง :

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาใน Messenger, Line - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ ห้องพักอาจารย์ ตึก BLA ชั้น 4 ห้องพักอาจารย์สาขาการบัญชี

หมวดที่ 4

การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

นักศึกษาต้องเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ นักศึกษาควรมีจริยธรรมในเรื่องดังนี้

1.1.1 หลักของจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น

1.1.2 มีจิตสำนึกสาธารณะ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบของตนเอง

1.1.3 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

1.2 วิธีการสอน

1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี เช่น จรรยาบรรณที่ดีของผู้จัดทำบัญชี จรรยาบรรณที่ดีของเจ้าของกิจการ เป็นต้น

1.2.2 ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย รวมถึงความซื่อสัตย์ในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย

1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี เช่น จรรยาบรรณที่ดีของผู้จัดทำบัญชี จรรยาบรรณที่ดีของเจ้าของกิจการ เป็นต้น

1.2.2 ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย รวมถึงความซื่อสัตย์ในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย

1.3 วิธีการประเมินผล

1.3.1 ให้นักศึกษาประเมินพฤติกรรมตนเอง และเพื่อนร่วมชั้นเรียน

1.3.2 ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียน การทำแบบฝึกหัดและการส่งการบ้าน

2. ความรู้2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา

2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา

2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

2.2 วิธีการสอน

2.2.1 การบรรยายและฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัด

2.2.2 การถาม ตอบปัญหาในห้องเรียน

2.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ เพิ่มเติม

2.2.4 สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

2.2.1 การบรรยายและฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัด

2.2.2 การถาม ตอบปัญหาในห้องเรียน

2.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ เพิ่มเติม

2.2.4 สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

2.3 วิธีการประเมินผล

2.3.1 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคเรียน เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงานและการ ทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน

2.3.2 การประเมินจากการสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค

2.3.3 การประเมินผลการเรียนรู้จากการตรวจแบบฝึกหัด

3. ทักษะทางปัญญา3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา

3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ

3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ

3.2 วิธีการสอน

3.2.1 บรรยาย การฝึกปฏิบัติ การยกตัวอย่าง พร้อมการถาม ตอบในชั้นเรียน

3.2.2 ฝึกการคิด ฝึกการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษาต่าง ๆ

3.2.3 การมอบหมายงานตามใบงานที่กำหนดขึ้น

3.2.1 บรรยาย การฝึกปฏิบัติ การยกตัวอย่าง พร้อมการถาม ตอบในชั้นเรียน

3.2.2 ฝึกการคิด ฝึกการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษาต่าง ๆ

3.2.3 การมอบหมายงานตามใบงานที่กำหนดขึ้น

3.3 วิธีการประเมินผล

3.3.1 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานกลุ่มหรืองานเดี่ยว

3.3.2 สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา

4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี

4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม

4.2 วิธีการสอน

 

4.2.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

4.2.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี

4.2.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน

 

4.2.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

4.2.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี

4.2.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน

4.3 วิธีการประเมินผล

 

4.3.1

รายวิชา - การบัญชีการเงิน

อาจารย์ผู้สอน